การจัดการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Aquaculture Business Management

1. เพื่อสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์กับงานในหน้าที่  การดำเนินธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ
2. นำไปประยุกต์ในการแก้ไขปัญหาทางการการวิเคราะห์และวินิจฉัยฟาร์ม
3.วิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยที่มีต่อความสำเร็จของการประกอบการจัดการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้ด้วยตนเองอย่างมีคุณภาพ 
4.มีคุณธรรม มีจรรยาบรรณของอาชีพที่เกี่ยวกับการประมง และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
 1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถอธิบายเรื่องการจัดหาและการใช้ปัจจัยการผลิต การตลาด ปัญหาด้านการจัดการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและแนวทางการแก้ไขปัญหา
2.เพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับการดำรงชีพและการประกอบอาชีพในอนาคต และ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในสภาพเศรษฐกิจและการจัดการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบธุรกิจ
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการธุรกิจ  การวิเคราะห์โครงการธุรกิจ  การจัดทำบัญชีฟาร์มสัตว์น้ำ การตลาด และการจัดการธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
2
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกงานของผู้อื่น
-  หากมีการนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อทำรายงาน ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน  และเสนอข้อมูลตรงตามข้อเท็จจริง
-  นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด เช่น การมีวินัย  ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  ปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
-   ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 -สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
-บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการทางทฤษฏี
-มอบหมายให้ค้นคว้างานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเรียน พร้อมทั้งจัดทำรายงานส่ง
- สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- จัดทำรายงานเรื่องที่มอบหมายให้ศึกษา
- การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและตอบปัญหาในชั้นเรียน
-มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
-มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-กระตุ้นให้นิสิตคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
-มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์
-การทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกันด้วย
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
-สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
-สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
-สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  กำหนดให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ค้นคว้า และใช้ในการนำเสนอผลงาน
-ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
- มีการนำข้อมูลทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการเรียน
-ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษหรือไม่
-ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
-ประเมินจากข้อมูลที่นำเสนอเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1
 สะเทื้อน ปิ่นน้อย.  2542.  หลักการจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ   ภาควิชาการจัดการประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้อมูล/ สถิติของสำนักเศรษฐกิจการเกษตร
วีดีทัศน์   www.youtube.com
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาเพื่อประเมินประสิทธิภาพในรายวิชานี้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอนและรายวิชา
- การสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
          - ผลการสอบ
- หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหารือกับอาจารย์ที่สอนวิชาอื่น ๆ ในสาขาวิชา และสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา
- มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดยให้อาจารย์ที่ไม่ได้ร่วมสอนช่วยประเมินหัวข้อ เนื้อหา ข้อสอบผลการเรียน และการตัดเกรด
- จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงวิธีการสอนทุกปี
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
-สอดแทรกความรู้ประยุกต์ที่ทันสมัยทุกปี โดยเชิญอาจารย์พิเศษหรือผู้ทรงคุณวุฒิในภาคเอกชนมาให้ความรู้