ภาษาอังกฤษสำหรับงานธุรกิจอาหารและโภชนาการ

English for Food Business and Nutrition

 1. พัฒนาทักษะการฟังพูดเพื่อสื่อสารในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ      2. เข้าใจสาระสำคัญ และสรุปความจากการอ่านและฟังเกี่ยวกับวิชาชีพ      3. เขียนโครงการ รายงาน และบันทึกเกี่ยวกับวิชาชีพ      4. นำเสนอโครงการ ผลงาน และรายงานเกี่ยวกับวิชาชีพ      5. ตระหนักในความสำคัญของการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในการประกอบอาชีพ
  เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ     พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาการพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอ่น และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อให้สามารถสื่อสารในงานธุรกิจอาหารและโภชนาการ การค้นคว้าและการวิเคราะห์ข้อมูลภาษาอังกฤษในบริบททางด้านธุรกิจอาหารและโภชนาการ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในช่วงเวลาทำงาน  (Office Hours)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัยในชั้นเรียน การตรงต่อเวลา และพฤติกรรมในการเรียน   2. สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียน  โดยเน้นการมีจิตสำนึก การรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม   3. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้อื่น โดยให้ระบุที่มาขอแหล่งข้อมูลอย่างชัดเจน 
1. จากการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล มีการอ้างอิงเอกสารอย่างถูกต้องและเหมาะสม  2. จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลาและมีประสิทธิภาพและการเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ  3. จากการสอบถามการดำเนินชีวิตประจำวันของนักศึกษา
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา   2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา   3. สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายและฝึกปฏิบัติในห้องเรียนหรือห้องปฏิบัติการภาษา   2. จัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  3. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่น สื่ออิเลกทรอนิกส์ แล้วนำมาอภิปรายในชั้นเรียน   4. มอบหมายให้นำเสนอผลงาน ทั้งในรูปแบบรายงานและปากเปล่า  5   มอบหมายให้นักศึกษานำภาษาที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ นอกห้องเรียน
1.  จากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน    2. จากงานที่มอบหมายให้นักศึกษาทำในแต่ละบทเรียน     3. จากการซักถาม โต้ตอบ    4. จากการสังเกตความสนใจและความตั้งใจในการทำกิจกรรม
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
  2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1   ฝึกวิเคราะห์บทอ่านและเขียนสรุปใจความสำคัญ   2   กำหนดสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เพื่อฝึกปฏิบัติให้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1   จากการประยุกต์ความรู้ในสถานการณ์ที่กำหนดอย่างถูกต้องและเหมาะสม  .2   จากการวิเคราะห์  ตอบคำถาม อภิปราย บทอ่าน และสรุปสาระสำคัญ ได้ถูกต้อง           
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี 
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม   2   ให้มีการนำเสนอและอภิปรายกลุ่ม   3   ให้มีการเรียนรู้ร่วมกัน โดยแลกเปลี่ยนผลงานเขียนเพื่อตรวจสอบข้อบกพร่อง
4.3.1   จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
4.3.2  จากการประเมินคุณภาพผลงานที่นำเสนอของกลุ่ม
           5.1.1    สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  (5.1)
           5.2.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
                      เหมาะสม (5.2)
           5.3.3    สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            5.2.1    มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากสื่ออิเล็คทรอนิคและสื่อประสมต่างๆ
                       (5.1+5.2+5.3)
            5.2.2    ให้มีการนำข้อมูลจากการค้นคว้ามาอภิปรายแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่ม (5.3)
            5.2.3    ให้นักศึกษาใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมประกอบการนำเสนอผลงานด้วยปากเปล่า (5.3)
        5.3.1   จากข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นและรูปแบบการนำเสนอ ด้วยสื่อเทคโนโลยี
           5.3.2   จากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN115 ภาษาอังกฤษสำหรับงานธุรกิจอาหารและโภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1,5.3 การสอบกลางภาค 9 ร้อยละ25
2 2.1, 3.1,5.3 สอบปลายภาค 17 ร้อยละ25
3 2.1, 3.1,5.3 ทดสอบย่อย 2 ครั้ง 8 และ 16 ร้อยละ 20
4 1.3, 2.1, 4.3, 5.2, 5.3 -การส่งงานตามที่มอบหมาย (assignments) -การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ (presentation) -การเข้าร่วมกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ (in class and university activities participation) -การทำงานกลุ่ม (group work- pair work) - โครงงาน (Project-based) ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ20
5 1.2, 4.1, 4.3 -จิตพิสัย - การเข้าชั้นเรียน (class attendance) -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ - การเขียนเรียงความแสดงความรู้สึกที่มีการจัดกิจกรรมในรายวิชา ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
    - ภสุ  ณธันยพัต. 2556. English for Home Economics. บริษัทพัฒนาวิชการ(2535) จำกัด.
    - Anne Baude, Montserrat Iglesias and Anna Inesta. Ready to Order. Longman Pearson Education Limited 2002
    - Trish Stott and Rod Revell. English for the hotel and catering industry. Oxford University Press. 2004
- ภาษาอังกฤษสำหรับงานคหกรรม
    - https://7esl.com/kitchen-utensils-vocabulary/
    - https://studylib.net/doc/8975433/kitchen-equipment-and-utensils---home-economics-careers-and
1.1    สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน      1.2   ใช้แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา      1.3   สังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
2.1 สังเกตจากการสอนของผู้ร่วมทีมการสอน      2.2 ประเมินจากผลการสอบของผู้เรียน      2.3 ทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
    3. 1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
    3. 2   วิจัยในและนอกชั้นเรียน
    4. 1   ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ  
             ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน หรืออาจารย์ประจำหลักสูตร
    4. 2   ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
             ตรวจสอบข้อสอบ ผลงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนงานที่มอบหมาย และการให้
             คะแนนพฤติกรรม
    4. 3   สอบถามนักศึกษา
5. 1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะ
    5. 2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองกว้างไกล