พันธุศาสตร์ทางการเกษตร

Genetics for Agriculture

ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม รู้การแสดงออกของยีนและการควบคุม เข้าใจพันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่น ๆ รู้วิธีการหาตำแหน่งของยีนบนโครโมโซม เข้าใจการกลายพันธุ์ เข้าใจพันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เข้าใจวิวัฒนาการการใช้ประโยชน์พันธุศาสตร์ทางการเกษตร
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางทฤษฎีได้อย่างเชี่ยวชาญ โดยมุ่งเน้นให้มีความรู้ที่สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์ในปัจจุบัน และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อใช้ในวิชาชีพต่อไปได้  แก้ไข
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม การแสดงออกของยีนและการควบคุม พันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่น ๆ วิธีการหาตำแหน่งของยีนบนโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ วิวัฒนาการการใช้ประโยชน์พันธุศาสตร์ทางการเกษตร  แก้ไข
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล จัดตารางเวลาการเข้าพบเพื่อให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเป็นเวลา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์โดยมีการประกาศให้นักศึกษาทราบ และนักศึกษาสามารถเข้าพบเพื่อปรึกษาได้นอกช่วงตารางเวลาที่ประกาศตามความเหมาะสม 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบ และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน 2. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและแนวทางปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  แก้ไข
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน ได้ทำการวิเคราะห์ สรุปเนื้อหา แลทำเพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่มโดยให้ทำการค้นคว้าเนื้อหาที่ได้เรียนเพิ่มเติม
3. มีการทดสอบโดยให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหลังจากเรียน และมีการสอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  แก้ไข
 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  แก้ไข
1. บรรยายยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์
ให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นหลังการบรรยาย
3. ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มในหัวข้อที่กำหนด 
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้องเรียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กำหนดงานให้ทำเป็นกลุ่ม  แก้ไข
1. ประเมินตนเองและเพื่อนจากกระบวนการทำงาน 2. กรรมการทำงานเป็นทีม และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน  แก้ไข
 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธภาพ  แก้ไข
1. มอบหมายงานการค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการส่งงาน ติดต่อการเรียนการสอน ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์
 ตรวจงานที่มอบหมาย รวมไปถึงการสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์เพื่อการค้นคว้าข้อมูล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลฯ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCAG006 พันธุศาสตร์ทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1-2.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงานผลปฏิบัติการ สอบปฏิบัติการ 9 17 ระหว่างเรียน ระหว่างเรียน 25% 25% 20% 10%
2 2.1-.2.2, 3.1-3.2, 5.1 รายงาน งานค้นคว้า และนำเสนอในห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1, 4.1-4.2 รายงาน งานค้นคว้า และนำเสนอในห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2541. พันธุศาสตร์. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.  แก้ไข
ไม่มี  
เอกสาร และข้อมูลแนะนำ ดาวรุ่ง กังวานพงศ์. 2546. พันธุศาสตร์. แขนงวิชาพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่บิสเนสเซ็นเตอร์ แอนด์ สตูดิโอ. เชียงใหม่. ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2539. พันธุศาสตร์. ไทยวัฒนาพานิช จำกัด กรุงเทพฯ. สมศักดิ์ อภิสิทธิวาณิช. 2543. พันธุศาสตร์กับสังคม. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2539. พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. Hartwell, L. H. et al. 2004. Genetics. 2nd edition. McGraw Hill. 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  แก้ไข
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน  แก้ไข
การทวนสอบคะแนนโดยกลุ่มอาจารย์ในสาขา  แก้ไข
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ  แก้ไข