เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช

Plant Propagation Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้ (ให้ถอดจาก วัตถุประสงค์หลักสูตร มคอ. 2) 1.1  เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนเข้าใจ การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีอาศัยเพศ ปฏิบัติการการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีอาศัยเพศในขั้นตอนต่างๆ การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศ ปฏิบัติการการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การตอน ปักชำ ติดตา ต่อกิ่ง ทาบกิ่ง การเลือกใช้วิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมกับชนิดของพืช สภาพแวดล้อม และวัตถุประสงค์
1.2   เมื่อเรียนจบวิชานี้แล้วผู้เรียนทราบ ความสำคัญและประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช พื้นฐานการขยายพันธุ์พืชในรูปแบบต่างๆ โดยวิธีอาศัยเพศ และวิธีไม่อาศัยเพศ
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา  :                ปรับปรุง ลดจำนวนชั่วโมง 5 คาบ การขยายพันธุ์โดยการต่อกิ่ง ในหัวข้อการขยายพันธุ์พืชโดยการชักนำให้เกิดรอยต่อเชื่อม และเพิ่มจำนวนชั่วโมง อีก 5 คาบ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเศรษฐกิจ และการย้ายพืชทดลอง ในหัวข้อ การขยายพันธุ์พืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ ทฤษฎี หลักและวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบใช้เพศและไม่ใช้เพศ ได้แก่ การผลิตเมล็ดพันธุ์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การตอนกิ่ง การตัดชำ การแบ่งและแยก การต่อกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา เป็นต้น  ตลอดจนการใช้สารและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์พืชแบบใช้เพศและไม่ใช้เพศ
อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน           -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)     3.1 วัน ศุกร์ เวลา 15.30 - 16.30 น. ห้อง PB102 โทร 0850410609     3.2  e-mail; eedsara@gmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
 
การสอนแบบ บรรยายเชิงอภิปราย   1.2.1 สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.2.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3 วิธีการประเมินผล 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน 1.3.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.3  ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด 1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.2.1   ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา และทาง  อินเตอร์เน็ต / แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน  2.2.1   ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมการสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา และทาง  อินเตอร์เน็ต / แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน
1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  แก้ไข
 
3.2 วิธีการสอน 
3.2.1   แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการขยายพันธุ์พืชในแปลงเพาะปลูกพืชที่ได้รับมอบหมาย 3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 3.2.3    ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล 3.2.1   แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการขยายพันธุ์พืชในแปลงเพาะปลูกพืชที่ได้รับมอบหมาย 3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 3.2.3    ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
3.3 วิธีการประเมินผล 
3.3.1   ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน  3.3.2   ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน  3.3.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด 4.2.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน 4.2.3   การนำเสนอรายงาน 4.2.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด 4.2.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน 4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนโดยประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 4.3.2  ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา 4.3.3   ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  ใช้  Power point   มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.2.2 มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ 5.2.1  ใช้  Power point   มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.2.2 มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี Power point  หรือเทคโนโลยีอื่นๆที่เหมาะสม 5.3.2   ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน 5.3.3   ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
 
 
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสือสาร และการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 2.1 2.2 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2
1 BSCAG106 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.3,3.1,4.3,4.4,5.2 การเข้าชั้นเรียน /การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1 - 17 5%
2 1.3,3.1,4.3,4.4,5.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 การสอบกลางภาค 9 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 5% การสอบกลางภาค 20%การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 5% การสอบกลางภาค 20%
4 1.3,3.1,4.3,4.4,5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน/ผลงานที่มอบหมาย 14 5%
5 การสอบปลายภาค 17 65 % รวม 100 %
เอกสารตำราหลัก  1. นันทิยา  วรรธนะภูติ 2542 การขยายพันธุ์พืช พิมพ์ครั้งที่ 3  โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์  กรุงเทพมหานคร  448 หน้า  2. สนั่น  ขำเลิศ  2522 หลักและวิธีการขยายพันธุ์พืช  ภาควิชาพืชสวน  คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  กรุงเทพมหานคร 374 หน้า  3. สนั่น  ขำเลิศ  2541 หลักและวิธีปฏิบัติการขยายพันธุ์พืช  สำนักพิมพ์รั้วเขียว  กรุงเทพมหานคร  207 หน้า  4. Hartmann,H.T.; Kester,D.E.; Davies,F.T.,Jr. and R.L.Geneve  1997  Plant  Propagation  Principles  and   Practices  (6th edition)  PrenticeHall,Inc. U.S.A. 772 p
 เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม    1. คำนูณ  กาญจนภูมิ  2542  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  กรุงเทพมหานคร  162 หน้า  2. พีรเดช  ทองอำไพ  2529  ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย   ห้างหุ้นส่วนจำกัดไดนามิคการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร  196 หน้า  3. มงคล  แซ่หลิม  2536 ปฏิบัติการเทคนิคการขยายพันธุ์ไม้ผล ใน เทคนิคการขยายพันธุ์พืช  ภาควิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  สงขลา  4. รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ  2540  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช:หลักการและเทคนิค  สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตบางเขน  กรุงเทพมหานคร  219 หน้า  5. อรดี  สหวัชรินทร์ 2539 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อักษรสยามการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร 49 หน้า
เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม  1. ประทีป  กุณาศล 2539 ขยายพันธุ์ไม้ผลด้วยวิธีปักชำในแปลงพ่นหมอก  เคหการเกษตร 20: 51  2. ยิ่งยง  ไพสุขศานติวัฒนา  2539  การตัดชำและการตอน ใน    เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการขยายพันธุ์พืช หน้า37  ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  กำแพงแสน นครปฐม  3. สุรีรัตน์  ทวนทวี และ เมืองทอง  ทวนทวี  2539  ขยายพันธุ์พืชโดยรูปภาพ  ห้างหุ้นส่วนจำกัดไพศาลการพิมพ์  กรุงเทพมหานคร  92 หน้า  4. อารีย์  วรัญญูวัฒก์  2541  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช  โรงพิมพ์อติสรรค์  กรุงเทพมหานคร  133 หน้า
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษ
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ  รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4