โลจิสติกส์สำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

Logistics for Tourism Industry

แนวคิดและองค์ประกอบของการขนส่ง รูปแบบการขนส่งที่ใช้ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การวิเคราะห์สภาพการแข่งขันทางด้านการตลาด  ปัญหา  การประกัน กฎหมาย  กฎระเบียบ  และแนวโน้มสำหรับธุรกิจการขนส่ง ผลกระทบที่สำคัญด้านโลจิสต์ทางการท่องเที่ยว องค์ประกอบของการจัดการด้านโลจิสติกส์ หลักการและแนวคิดในการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานโดยเน้นการขนส่ง  ศึกษาแบบจำลองและเครื่องมือวิเคราะห์พื้นฐานที่ใช้ในการวางแผนและวิเคราะห์อุปทานการขนส่ง
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาการท่องเที่ยว โทร. อาจารย์ศิริขวัญ 091-7044044  อาจารย์ปานณนาถ 091-0708451
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริตและสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ  1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน  1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่  1.1.4 มีวินัยมีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ
-เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ  -อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน  -สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
-พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา  -พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์  -ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย  -เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง 
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการ บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ  2.1.3 มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัย
-บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง  -อภิปรายหลังการทำกิจกรรม  -การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า  - การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎี  -การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้ (Problem – based Learning)
- ทดสอบกลางภาคและปลายภาค  - ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา รวมทั้งหาแนวทางป้องกันแก้ไขทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก  3.1.2 สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจ  3.1.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติจริงตามสถานการณ์  3.1.4 สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ
-ร่วมกิจกรรม สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมุติแล้วอภิปรายกลุ่ม พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน  - ฝึกการเขียนรายงานอย่างเป็นขั้นตอนและหาแนวทางแก้ไขได้ (Solving Problem)
- ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์เมื่อมีสถานการณ์จำลองซึ่งเป็นข้อชี้วัดหนึ่งในการให้คะแนนปฏิบัติได้  - พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่ม การประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย  4.1.2 สามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัย
- จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
- นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน  - ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
5.1.1 สามารถใช้ภาษาต่างประเทศใน การฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างมีสิทธิภาพ  5.1.2 สามารถสื่อสารกับชาวต่างประเทศได้  5.1.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  5.1.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติ
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง  - นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH136 โลจิสติกส์สำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3,1.4, การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 4,5 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 1,2,3,4,5 การทดสอบย่อย/ การนำเสนองาน/การรายงาน ทุกสัปดาห์ 50%
4 2,3 สอบกลางภาค สอบกลางภาค 8 20%
5 2,3 การสอบปลายภาค 17 20 %
ธัญชนก บุญเจือ (2560) เอกสารประกอบการเรียนวิชาโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยว,มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนใน ข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการแกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ