ทัศนศิลป์ 2

Visual Art 2

1. รู้จักและเข้าใจลักษณะการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทต่างๆ
2. ฝึกปฏิบัติในการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทต่างๆ
3. มีทักษะในการ สร้างสรรค์งานศิลปะประเภทต่างๆ
4. เห็นคุณค่าในงานทัศนศิลป์
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา
ทัศนศิลป์ 1 สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ชั้นปีที่1
ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะทางด้านทัศนศิลปะประเภทต่างๆ
ในขั้นพื้นฐานซึ้งต้องศึกษาค้นคว้าถึงความหมายของกระบวนการสร้างงานทัศนศิลป์ก่อนลงมือปฏิบัติงาน
วิจารณ์และแนะนำเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะขั้นพื้นฐาน โดยใช้เทคนิควิธีการทางจิตรกรรม ประติมากรรมและศิลปะภาพพิมพ์
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
๑.๑ มีความรู้ ความสามารถในการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ รับผิดชอบต่อสังคม
๑.๒ มีศักยภาพในการค้นคว้าและพัฒนาตนเอง
๑.๓ มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
๑.๔ ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ
๒.๑ มีความรู้ ความสามารถในการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์
๒.๒ วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย ทำงานกลุ่ม นำเสนอรายงาน วิเคราะห์ สรุปผล
๒.๓ วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ และ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
๓.๒ วิธีการสอน บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ทำรายงานโดยการศึกษาเรียนรู้จากครูภูมิปัญญา
๓.๓ วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
2.1.1 ความสามารถในการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์
2.2.1 บรรยาย อภิปราย ทำงานกลุ่ม นำเสนอรายงาน วิเคราะห์ สรุปผล
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
3.1.1 พัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ และ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
3.2.1 บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ทำรายงานโดยการศึกษาเรียนรู้จากครูภูมิปัญญา
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
4.1.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างผู้เรียน และผู้สอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายรายงานกลุ่ม รายงานความก้าวหน้าของงาน
4.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
5.1.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 วิธีการสอน ค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
5.3.1 วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
หนังสือ “ มโนภาพและการรับรู้ทางศิลปะและศิลปศึกษา” ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระพงษ์ กุลพิศาล
                            สำนักพิมพ์ธารอักษร 2546
วาดเส้นด้วยดินสอ พิษณุ ประเสริฐผล 2549 กทม.
วาดเส้นพื้นฐาน วัชรพงษ์ หงส์สุวรรณ สำนักพิมพ์ วาดศิลป์ 2552 กทม.
ประวัติศาสตร์ประติมากรรม ประเสริฐ วรรณรัตน์ สำนักพิมพ์ วาดศิลป์ 2552 กทม.
ประติมากรรมหิน สุชาติ เถาทอง สำนักพิมพ์เกรทไฟน์อาร์ท 2549 กทม.
สีน้ำคนเหมือน พิษณุ ประเสริฐผล สำนักพิมพ์ วาดศิลป์ 2559 กทม.
สีน้ำภาคปฏิบัติ นัฐประชา หงส์สุวรรณ สำนักพิมพ์ วาดศิลป์ 2561 กทม. ความรู้เกี่ยวกับสิลปะภาพพิมพ์. อัศนีย์ ชูอรุณ โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กทม.
องค์ประกอบศิลปะ. ชลูด นิ่มเสมอ กรุงเทพ:ไทยวัฒนาพานิช. 2531
ชลูด นิ่มเสมอ .องค์ประกอบศิลปะ.กรุงเทพ:ไทยวัฒนาพานิช. 2531
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น fine arts,
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย