ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ

Information System Security

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
  เพื่อใหนักศึกษามีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพื้นฐานในการรักษาความปลอดภัยและการ
สรางความมั่นคงของสารสนเทศ ภัยคุกคามที่สามารถเกิดขึ้นกับสารสนเทศ รูปแบบเทคนิคในการบุกรุกตางๆ สามารถวิเคราะหความเสี่ยงและจุดออนของการรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ กําหนดนโยบายในการรักษาความมั่นคงของสารสนเทศ และประยุกตใชเครื่องมือและเทคนิคตางๆ
สําหรับการรักษาความมั่นคงดานสารสนเทศได อาทิ ไฟรวอลล ระบบปองกันการตรวจจับการบุกรุก เทคนิคการเขารหัสลับและการถอดรหัส และสามารถกูคืนสารสนเทศเมื่อเกิดความเสียหายได
เพื่อใหนักศึกษามีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยและการสรางความมั่นคงของสารสนเทศ และสามารถปองกันตนเองจากภัยคุกคามตางๆ รวมทั้งการเตรียมความพรอมดานปญญาและจริยธรรมในการปฏิบัติกงาน โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาและตัวอยางใหสอดคลองกับแนวโนมดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ไดมีการกาวหนาไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงของคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย การป้องกัน
ไวรัส นโยบายการรักษาความมั่นคง การควบคุมและการวางแผน เทคโนโลยีการรักษาความมั่นคง ลายเซ็นต์ดิจิทัล การเข้ารหัสและการถอดรหัส การตรวจสอบและสิทธิการเข้าถึง เทคโนโลยีไฟร์วอลล์และซีเคียวร์เน็ตเวิร์ค
 
     3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านป้ายประกาศและเว็บไซต์ Facebook                หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ
    3.2  อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน email: kacharin@rmutl.ac.th
    3.3  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหลังเลิกเรียนทุกวันพุธ เวลา 15.00 น. ถึง 17.00 น.
 
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
š1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
˜1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
˜ 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- อภิปรายกลุม โดยใหมีการปฏิสัมพันธระหวางนักศึกษาในชั้นเรียน และเปดโอกาสใหมีการ
แสดงความคิดเห็นตามประเด็นตางๆ อยางอิสระ
- กําหนดใหนักศึกษาหาตัวอยางที่เกี่ยวของ
- บทบาทสมมุติ
     - พฤติกรรมการเขาเรียน และสงงานที่ไดรับมอบหมายตามขอบเขตที่ใหและตรงเวลา
    - พฤติกรรมการแสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่ภาควิชาฯ/คณะจัดกิจกรรมตางๆที่
เกี่ยวของทางดานคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะตอผูอาวุโสและอาจารย
      - พฤติกรรมการใชคอมพิวเตอรที่ไมเสี่ยงตอการกระทําความผิดพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 - มีการอางอิงเอกสารที่ไดนํามาทํารายงาน อยางถูกตองและเหมาะสม
- ประเมินผลการวิเคราะหกรณีศึกษา
- ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
š2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
˜2.3 สามารถวิเคราะห์  ออกแบบ ติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
š2.4  สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
š2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
l2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
˜2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
˜2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
 
บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การนําเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และ
มอบหมายใหคนควาบทความ ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดย
ใชปญหา และโครงงาน Problem base learning และ Research base learning และฝกปฏิบัติโดยใชเครื่องมือ
และเทคนิคตางๆ สําหรับการรักษาความมั่นคงดานสารสนเทศและกูคืนสารสนเทศเมื่อเกิดความเสียหาย
 -ประเมินผลจากการมีสวนรวมในกิจกรรมของชั้นเรียน
- นําเสนอสรุปการอานหรือรายงานจากการคนควาขอมูลที่เกี่ยวของ
- การวิเคราะหกรณีศึกษา
- การทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการ ทฤษฏี
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
š3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
š3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
l3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
 
 
- การมอบหมายใหนักศึกษาทําโครงงานพิเศษ และนําเสนอผลการศึกษา
- อภิปรายกลุม แสดงความคิดเห็นและการถาม-ตอบ ประเด็นตางๆที่พบเห็น
- วิเคราะหกรณีศึกษา ในเรื่องของการรักษาความมั่นคงของสารสนเทศในปจจุบัน
- การสะทอนแนวคิดจากการประพฤติ
 
- ประเมินจากการสอบข้อเขียนด้วยโจทย์ที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญา
- สอบกลางภาคและปลายภาค โดน
เนนขอสอบที่มีการวิเคราะหแนวคิดในการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้สถานการณ์ต่างในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
š4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
l4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
š4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
 
         
 
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนใหนักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธกับผูอื่น
- มอบหมายงานรายกลุม และรายบุคคล เชน การคนควาดานภัยคุกคามของสารสนเทศ การ
รักษาความมั่นคงของสารสนเทศ เปนตน
- การนําเสนอรายงานในชั้นเรียน
- กําหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแตละคนในการทํางานกลุม อยางชัดเจน
 
 
 
- ประเมินตนเอง และเพื่อนรวมกลุม และนักศึกษาอื่น ในชั้นเรียน ทั้งดานความรับผิดชอบและ
ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล
- ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ และพฤติกรรมการทํางานเปนทีม
- รายงานการศึกษาดวยตนเอง
- จัดกิจกรรมกลุมในการวิเคราะหกรณีศึกษา         
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
˜5.1  มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
š5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
˜5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
 
 
 
 
 
 
- มอบหมายงานใหศึกษาคน
ควาดวยตนเอง จาก Website สื่อการสอน E-learning และทํา
รายงาน โดยเนนการนําตัวเลข หรือมีสถิติอางอิง จากแหลงที่มาขอมูลที่นาเชื่อถือ
- อภิปรายกลุม แสดงความคิดเห็นและการถาม-ตอบ ประเด็นตางๆในชั้นเรียน
- นําเสนอรายงานโดยใชรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
 
 
 
 
 
- การจัดทํารายงาน และนําเสนอดวยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมภายในกําหนดเวลา
- การมีสวนรวมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายผลงานการนําเสนอในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1 22102405 ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.7 2.1, 2.2, 2.6 2.1, 2.6,3.2 2.1, 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 3 สอบปลายภาค 4 7 8 15 17 05% 05% 20% 10% 30%
2 1.1,1.2,1.3, 1.4,1.5,1.6, 3.2, 4.1,4.2,4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 พิจารณาจากรายงาน ผลงานของนักศึกษา การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1,1.2,1.3, 1.4,1.5,1.6, 4.1,4.2,4.3, 4.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- สุระสิทธ ิ์ทรงม้า. (2556). ความมั่นคงของสารสนเทศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 - นันทนิี ชูรอด ,พุทธิพันธ์ วัฒนา, ธิติ ลิ้มเจริญ และสุระสิทธิ์ ทรงมา (2556). การวิเคราะห
ประสิทธิภาพของระบบตรวจจับการบุกรุกระบบเครือขาย. กรุงเทพฯ.
 - สุระสิทธิ์ ทรงม้า และสุภารัตน คุมบํารุง. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรูขาวสารเกี่ยวกับ
พระราชบัญญัติว่าดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 กับพฤติกรรมการใช
คอมพิวเตอรและระบบอินเทอรเน็ตของนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
กรุงเทพฯ
 
      - surasit songma and etc. (2556). "Intrusion Detection through Rule Induction Analysis",
Advances in information Sciences and Service Sciences (AISS) Journal, Volume 5,
Number 11, June 2013.
 - surasit songma and etc. (2556). "Intrusion Detection through Rule Induction Analysis",
Advances in information Sciences and Service Sciences (AISS) Journal, Volume 5,
Number 11, June 2013.
 
-  เว็บไซด ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เชน Wikipedia, google คําอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน มคอ. 3
 - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผ่านจดหมายอิเล็กทรอนกสิ์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับ
นักศึกษา
 
     ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมนการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
   - ผลการสอบ
   - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลใหม่ๆ ที่ทันสมัย เช่น จากหนังสือที่แนะนำและเอกสารอ้างอิง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์และอื่นๆ
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา  หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา  รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
-         การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น  หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
-         มีการตั้งกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา  โดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม

 
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานของหลักสูตรที่กําหนดไว