สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Seminar

เพื่อให้นักศึกษาตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและค้นคว้างานวิจัยหรือวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการระหว่างนักศึกษาด้วยกันเอง และอาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนและเรียนรู้การเสนองานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนเองได้ไปศึกษาค้นคว้ามา

 
          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาค้นคว้าปัญหาและเรื่องที่สนใจและนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม รวบรวม เรียบเรียง และสรุปข้อคิดเห็นเพื่อนำเป็นข้อเสนอต่อที่ประชุมในกลุ่มสัมมนา โดยให้นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษ (โปสเตอร์หรือนำเสนอในที่ประชุมหรือนิทรรศการ)
          3.1 วันพุธ เวลา 15.00-16.00 น. ห้องสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร 055-298465 ต่อ 1151
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
(ให้กำหนดความรับผิดชอบหลัก/รองหน้าแต่ละข้อเหมือนที่แสดงในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้)
˜1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2  มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม
˜1.3  มีภาวะความเป็นผู้ นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
˜1.4  เคารพสิทธิ์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5  เคารพกฎระเบียบและขอบงคบตาง ๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.6  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
š1.7  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอนแบบฝึกปฏิบัติพร้อมทั้งยกตัวอย่างรูปแบบการเขียนสัมมนา เปิดโอกาสให้นักศึกษาร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาหรืออาจารย์ กำหนดให้นักศึกษาสืบค้นเทคโนโลยีที่สนใจเป็นรายบุคคล และลงมือฝึกปฏิบัติทำรายงานสัมมนาตามระยะเวลาที่กำหนดในแต่ละสัปดาห์เพื่อฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและผู้ตาม การนำเสนอรายงาน กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวิจัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือผลงานของผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการสอนในรายวิชา
พิจารณาจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตรงเวลาที่กำหนดในแต่ละสัปดาห์ ประเมินจากการนำเสนอรายงาน ประเมินจากการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น การถาม-ตอบในชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน การแต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย
 
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
š2.1  มีความรู้ และความเขาใจเกี่ยวกับหลักการและ ทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาสาขาวชา         
เทคโนโลยีสารสนเทศ
˜2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา  เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์
ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกบการแก้ไขปัญหา
˜2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบ   ต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
˜2.4  สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
˜2.5 เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างตอเนื่อง
˜2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง  และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
š2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้งานได้จริง
š2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง
การสอนแบบฝึกปฏิบัติพร้อมทั้งยกตัวอย่างรูปแบบการเขียนสัมมนา เปิดโอกาสซักถาม ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาหรืออาจารย์ การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
 
พิจารณาจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตรงเวลาที่กำหนดในแต่ละสัปดาห์
-  ประเมินจากการสอบปลายภาค
ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน ประเมินจากการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การถาม-ตอบในชั้นเรียน
 
 
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
š3.1  คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
š3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแกไข้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
˜3.3  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความตองการ
˜3.4สามารถประยุกต์ความรู้
และทักษะกบการแกไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
การสอนแบบฝึกปฏิบัติพร้อมทั้งยกตัวอย่างรูปแบบการเขียนสัมมนา เปิดโอกาสซักถาม ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาหรืออาจารย์ การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
 
พิจารณาจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตรงเวลาที่กำหนดในแต่ละสัปดาห์
-  ประเมินจากการสอบปลายภาค
ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน ประเมินจากการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การถาม-ตอบในชั้นเรียน
 
 
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
š4.2สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิ์ภาพ
˜4.3 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง  ๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
š4.4สามารถใช้ความรู้ ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.5  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š4.6  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม  พร้อม
ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลม
 
การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
 
ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน ประเมินจากการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การถาม-ตอบในชั้นเรียน
 
 
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
š5.1  มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มี
อยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
˜5.2  สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวของอย่างสร้างสรรค์
˜5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน  เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม
˜5.4  สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
 
การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
 
ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอ สามารถอธิบายได้ ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การถาม-ตอบในชั้นเรียน
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4 เคารพสิทธิ์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างตอเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิ์ภาพ 4.3 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.4สามารถใช้ความรู้ ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลม 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มี อยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
1 22101404 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,1.4,4.1,4.3, 5.2-5.4 2.1-2.6, 3.3-3.4 การนำเสนอรายงาน อภิปราย ส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การถาม-ตอบในชั้นเรียน สอบปลายภาค 10-15 17 20% 50%
2 2.2-2.6, 3.3-3.4 รายงานผลการค้นคว้าและรูปเล่มรายงานหัวข้อ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.6 การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
แบบประเมินผู้สอน
- การนำเสนอของนักศึกษาในชั้นเรียน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
 - แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
           4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
           4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา