องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น

Introduction to Composition

๑.๑ รู้และเข้าในส่วนประกอบพื้นฐาน (ทัศนธาตุ) ทางศิลปะ
                   ๑.๒ ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามหัวข้อที่กำหนดด้วยวัสดุและ
     การแสดงออกอย่างเหมาะสม
                   ๑.๓ มีทัศนคติที่ดีต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะตามหลักองค์ประกอบศิลป์
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนวิชาองค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการคลี่คลายรูปแบบ เลือกหาเทคนิควิธีการให้เหมาะสมกับการแสดงออก รวมทั้งสามารถประยุกต์หรือบูรณาการงานศิลปะร่วมกับศาสตร์ด้านอื่นๆได้และมีแบบเฉพาะตน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ที่มาและความสำคัญขององค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุทางศิลปะ หลักการจัดองค์ประกอบด้วยวัสดุและเทคนิควิธีการต่างๆโดยเน้นความคิดสร้างสรรค์
          Study and Practice of the definition, history and importance of composition in art, Application of the principle elements of art and composition in practice through the usage of various materials and techniques, with a focus creativity.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
ข้อ ๑  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ข้อ ๒  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ข้อ ๓  มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
กำหนดให้มีการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
   ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง(ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
ข้อ๓มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)      ข้อ ๔  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา        
มุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
       ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
                                (๑) การทดสอบย่อย เช่นการทำภาพร่างก่อนขยายผลงานจริง
                                (๒) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน เป็นชิ้นงานใหญ่
                                (๓) ประเมินจากการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
                   (๔) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
    ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน(ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์     ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้     ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
 
 
ใช้กรณีศึกษา  การสร้างผลงานทางศิลปะ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อนำมาตีความถ่ายทอดเป็นผลงานเฉพาะตน การบูรณาการทางศิลปะ   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานของนักศึกษา  และการนำเสนองาน
ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
                             และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)

    ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
                  ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๓ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร 
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอ
    ข้อ ๑ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)     ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง     ข้อ ๓ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน

                                   (1)          มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
                                   (2)          มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
                                   (3)          มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
                   ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงาน สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ข้อ ๓ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ ข้อ ๓ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๓ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม ข้อ ๑ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ข้อ ๓ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
1 BFACC404 องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-4 การนำเสนอผลงานตามหัวข้อที่ ๓, ๕, ๗ สอบกลางภาค การนำเสนอผลงานตามหัวข้อที่ ๑๐, ๑๒, ๑๔, ๑๗ สอบปลายภาค 3,5,7,10,12,14,16,17 การนำเสนอผลงาน ภาพร่างและขยายผลงานจริง รายสัปดาห์ 50% การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค 40%
2 หน่วยที่ 1-4 ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ศิลปะเบื้องต้น วาดเส้น ระบายสี ใบหน้าสร้างสรรค์ / ชัยวัฒน์ การรื่นศรี,
กรุงเทพฯ : ปาเจรา, 2546
                   องค์ประกอบศิลป์ / สมภพ จงจิตต์โพธา, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2554
                   องค์ประกอบของศิลปะ, ชลูด นิ่มเสมอ, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531
          ศิลปะคลาสสิก : สถาปัตยกรรม, ประติมากรรม, จิตกรรม / กฤษณา หงษ์อุเทน, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง, 2549
                   ศิลปะร่วมสมัย, วิรุณ ตั้งเจริญ, กรุงเทพฯ : วิฌวลอารต์, 2527
                   ศิลปะหลังสมัยใหม่ = Postmodern art / วิรุณ ตั้งเจริญ, กรุงเทพฯ : สันติศิริการพิมพ์, 2547
          ศิลปะภายใต้แรงกดดัน = Arts under pressure / Joost Smiers ; แปลโดย ธวัชชัย อนุพงศ์อนันต์, กรุงเทพฯ : ผู้จัดการ, 2550
หนังสือภาษาอังกฤษ     
The Art and craft of montage / Simon Larbalestier, London : Mitchell
Beazley,1993
Art and illusion / E. H. Gombrich, London : Phaidon, 1959.
Designing for the greater good : the best of cause-related marketing and nonprofit design / Peleg Top and Jonathan Cleveland, New York : Collins
Design : imprint of HarperCollins, 2010
An Introduction to the arts of Thailand, Van Beek, Steve, 1944-
Hong Kong : Travel, c1985.
The Ford Foundation, 1952-2002 : celebrating 50 years of partnership,
New Delhi : The Foundation, 2002
Artschool how to paint & draw : drawing, watercolour, oil & acrylic, pastel /
Hazel Harrison, London : Anness Publishing, c2008
Artspeak : a guide to contemporary ideas, movements, and buzzwords,
1945 to the present / Robert Atkins, New York : Abbeville Press Publishers, 1997
Artspoke : a guide to modern ideas, movements, and buzzwords, 1848-1944
Robert Atkins, New York : Abbeville Press, 1993.Art, context and criticism, Kissick, John, Madison, Wis. : Brown & Benchmark, c1993.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งในห้องสมุดและสถานที่จริง
                   -  หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย
                   -  วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
                   - แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย
                   - โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง
                   - แกลลอรี่
                   - บ้านศิลปินแห่งชาติ
                   - พิพิธภัณฑ์
วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
          - Art 4D
          - Fine Arts
          - Aesthetica - The Art and Culture Magazine
- ART PAPERS, based in Atlanta, US
 
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
          http://www.deviantart.com/
http://www.art.net/
www.artinfo.com
http://www.artbabble.org/
http://www.artcyclopedia.com/
http://www.artdaily.org/
http://www.theartsmap.com/
http://www.blackbird.vcu.edu/
http://designobserver.com/
http://www.interartcenter.net/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
- การสังเกตการณ์โดยผู้สอนประเมินผลรายสัปดาห์และรายเทอม
- สรุปผลการเรียนของนักศึกษา
- การประเมินผลสอบกลางภาคและปลายภาคจากชิ้นงานของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การสัมมนาเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- โครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน
- กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนงานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
- ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
- เชิญวิทยากรภายนอกให้ความรู้ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย