การวิจารณ์ศิลปะ

Art Criticism

-เพื่อการแสดงออกทางความคิดเห็นต่อผลงานด้านทัศนศิลป์ เพื่อให้มีความคิดเห็นตามหลักเกณฑ์ทางศิลปะ โดยวิธีการติชม เสนอข้อคิดเห็น
- เพื่อศึกษาองค์ประกอบในการวิจารณ์ผลงานโดยรวมของศิลปะ(ทัศนศิลป์)
- เพื่อให้เกิดประโยชน์ของการวิจารณ์ต่อผู้วิจารณ์
- เพื่อให้เกิดประโยชน์ของการวิจารณ์ต่อผู้สร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจารณ์ มีความลึกซึ้งและเห็นคุณค่าในการชื่นชมผลงานทางทัศนศิลป์ เพื่อการนำไปใช้ในผลงานของตนเอง ฝึกการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการวิจารณ์
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญและความเป็นมาของการวิจารณ์ศิลปะ ปรัชญาและรูปแบบการวิจารณ์ศิลปะ การนำเสนอการวิจารณ์ศิลปะ ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ การนำเสนอการวิจารณ์ศิลปะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย และสร้างระเบียบในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์วิธีการสร้างสรรค์การทำงานศิลปะได้อย่างเข้าใจ

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ให้นักศึกษาบรรยาย นำเสนอผลงานตามหัวข้อต่างๆที่กำหนดให้แต่ละสัปดาห์ วิจารณ์ผลงานทางทัศนศิลป์อย่างมีหลักการและเหตุผล วิจารณ์ผลงานทางทัศนศิลป์แบบกลุ่มและเดี่ยว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และสร้างสรรค์งานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาสร้างสรรค์ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4. ประเมินผลการวิจารณ์
สามารถค้นคว้าผลงานทางทัศนศิลป์และนำมาวิจารณ์อย่างมีระบบ มีหลักการณ์และเหตุผล
บรรยายและสาธิตกระบวนการและวิจารณ์เนื้อหา
2.3.1 ประเมิณจากการค้นคว้าส่งผลงานทางทัศนศิลป์และการวิจารณ์ผลงานทางทัศนศิลป์ที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอการวิจารณ์
พัฒนาความสามารถในการวิจารณ์ การคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และความสอดคล้องของกระบวนการคิดกับกระบวนการสร้างสรรค์
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าผลงานทางทัศนศิลป์ วิจารณ์และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่มและเดี่ยว
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในหัวข้อที่ศึกษาอย่างเหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการวิจารณ์
3.3.ส่งผลงานและวิจารณ์ พัฒนาการการวิจารณ์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาและเหมาะสมกับผลงานและกระบวนการการวิจารณ์
3.3.2 วัดผลจากการวิจารณ์ การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิจารณ์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายการค้นคว้าหาข้อมูลในการวิจารณ์ผลงานตามแต่หัวข้อที่นำเสนอ
4.2.3 การนำเสนอการวิจารณ์รายงานการค้นคว้า
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิด และกำหนดหัวข้อค้นคว้างานและการวิจารณ์
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอการวิจารณ์ในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิจารณ์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้กระบวนการศิลปะภาพพิมพ์ ในการสร้างสรรค์ตามหัวข้อที่กำหนด
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคนิคที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและการวิจารณ์ วิธีการที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลงาน และรูปแบบการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอและวิธีการนำเสนอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 การประเมินย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค การประเมินย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 20% 10% 20% 10%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 ประเมินสรุปทุกชิ้นผลงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานและผลงาน การส่งผลงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร :อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด(มหาชน), 2553.
สุชาติ เถาทอง. วาดเส้น. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2536.
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฎีสี. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2536.
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 ผลงานการสร้างสรรค์
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การตรวจสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ผลงานสร้างสรรค์ วิธีการให้คะแนนผลงาน และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญในสาขาจากภายนอกสถาบัน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากผลงาน และข้อมูลการค้นคว้า