ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจบริการ

English for Service Industry

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการฟังภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจบริการ
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการพูดภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจบริการ
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการอ่านภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจบริการ
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการเขียนภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจบริการ
1.5 เพื่อให้นักศึกษารู้ศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษธุรกิจที่ใช้ในธุรกิจบริการ
 
เพื่อพัฒนาการใช้สำนวนภาษาอังกฤษในธุรกิจการบริการ ซึ่งถือเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบันอีกทั้งยังเป็นธุรกิจที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วให้ทันสมัยและผู้สอนกับผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการสื่อสารแล้วมาบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
   ศึกษาและฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการ ในอุตสาหกรรมบริการต่างๆ อาทิเช่น งานด้านการโรงแรม กาท่องเที่ยว ธุรกิจร้านอาหาร เป็นต้น
 -   อาจารย์ประจำรายวิชาแจ้งให้ทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน และติดประกาศเวลาให้คำปรึกษาไว้หน้าห้องพักอาจารย์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 
2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
7.  อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
2.  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3.  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
6.  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
7.  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน

 

 
 
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
3.  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
 
 
4.  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
5.  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
6.  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
3.  การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
5.  ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
 5.  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
6.  สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
7.  สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
3.  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
6.  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
3.  พฤติกรรมการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสารของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6
1 BBABA733 ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจบริการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 4-7, 9-13 8 17 20% 25% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย รายงานและการนำเสนองานตามรายงานที่ได้ค้นคว้ามา ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Harding, K., & Walker, R. (2010). Oxford English for Career: Tourism 1. Oxford: Oxford University Press.
Henderson, K.J. An analysis of the service industry. Retrieved from https://smallbusiness.chron.com/ analysis-service-industry-5056.html
Spacey, J. (2018). 25 Examples of a service industry. Retrieved from https://simplicable.com/new/ service-industry
http://www.esolcourses.com/
    
Utawanit, K. (2016). Communicative English for Tourism. Bangkok: Thammasat Publishing.
Dangrojana, P. (2007). English for Hotel Staff. Bangkok: Chulalongkorn University.
Parasakul, L. (2001). English for Tourist Guides 1. Bangkok: Dhurakijpundit University.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พวงบุหงา ภูมิพานิช, อาจารย์ Dr. นงนุช ศรีอัษฎาพร, และอาจารย์ วิญญา พัฒนพงศ์.เอกสารการสอนชุดวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับพนักงานโรงแรม หน่วยที่ 1-7 English for Hotel Personnel. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
https://www.englishclub.com/english-for-work/food-drink-vocabulary.htm
https://www.englishclub.com/english-for-work/food-drink-menu.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษา และการให้ความร่วมมือในชั้นเรียนของนักศึกษา
2.2   ให้นักศึกษาได้มีการฝึกใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารภายในห้องเรียน
2.3   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาเพื่อตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
   5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก1- 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
   5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน รวมทั้งเรียนเชิญวิทยากรผู้ชำนาญเฉพาะด้านมาบรรยายเพิ่มเติม เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือในภาคอุตสาหกรรมบริการประเภทต่าง ๆ