หลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ

Principle of Textile, Fashion and Jewelry Design

1.1 เพื่อให้รู้และเข้าใจประเภทของการออกแบบชนิดต่างๆ
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจจิตวิทยาในการออกแบบ
1.4เพื่อให้รู้และเข้าใจแนวโน้มของการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
1.5 เพื่อให้มีความตระหนักถึงคุณค่าในงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานด้านการออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานทางด้านงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
ศึกษาเกี่ยวกับประเภทของการออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ หลักการออกแบบ จิตวิทยาในการออกแบบ แนวโน้มของการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
Study of type of design, creativity, design principles, psychology in design, trend in textile, fashion and jewelry design.
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งรายละเอียดในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
           1) บรรยายและสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพรวมถึงความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทางด้านหลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 
           2) กำหนดให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหานอกชั้นเรียนหรือนอกสถานที่เกี่ยวกับออกแบบงานสิ่งทอ แฟชั่น  เครื่องประดับ รวมถึงการเชิญวิทยากรมาวิพากษ์งานออกแบบของนักศึกษา เพื่อให้เปิดกว้างยอมรับความเห็นที่ต่าง เพื่อสร้างจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีต่องานสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ
การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลาในการส่งงานศึกษาค้นคว้า และปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2) มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านงานสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับอย่างเป็นระบบ
3) มีความรู้ในทางสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2) สอนแบบบรรยาย และสอนการแก้ปัญหาโดยกำหนดประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง โดยให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากเนื้อหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ นอกชั้นเรียน
3) สอนแบบบรรยาย ในเนื้อหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ ในบริบทของสังคม ทุนวัฒนธรรม และเศรษฐกิจปัจจุบัน
ประเมินผลจากการศึกษาค้นคว้าย่อย ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค
1) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
สอนแบบบรรยายและยกตัวอย่างสถานการณ์ เหตุการณ์ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ แล้วนักศึกษาทดลองวิเคราะห์งาน เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
วัดผลจากการประเมินจากการนำเสนอผลงานของนักศึกษา
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
สอนแบบบรรยาย แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติมเนื้อหาทางด้านหลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ ด้วยตนเองแบบรายกลุ่ม แล้วแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาค้นคว้าเนื้อหา รวมถึงพฤติกรรมที่แสดงออกต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน
         2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานหลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ ได้อย่ามีประสิทธิภาพ
           สอนแบบบรรยายแล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากผลงานศึกษาค้นคว้า รูปแบบของสารสนเทศที่เหมาะสมในการนำเสนองานทางด้านหลักการออกแบบ สิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ เช่น ความถูกต้องของข้อมูลและตัวเลข
1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
สอนแบบบรรยาย แล้วมอบหมายงานศึกษาเนื้อหาทางด้านหลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น เครื่องประดับ เพิ่มเติม โดยให้นักศึกษาอ่านจากใบงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินผลจากผลงานศึกษาค้นคว้าในใบงานที่มีความถูกต้องตามคำแนะนำของผู้สอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ102 หลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 ร้อยละ 60
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 การอภิปราย รายงาน การนำเสนอ ตลอดภาคเรียน ร้อยละ 30
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน ร้อยละ 10
1.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ .(2548). ความคิดสร้างสรรค์ Creative thinking. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
            สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2.พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. (2559). ประวัติศาสตร์การออกแบบอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.
3.พวงผกา คุโรวาท. (2540). คู่มือประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
4. รสชง ศรีลิโก. (2557). เครื่องประดับ. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
             พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 34 เรื่องที่ 4 (e-book), ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562.
             จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6
5. สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2561).เครื่องประดับอัตลักษณ์ มรดกอันทรงคุณค่าของไทย. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จากhttps://www.git.or.th/information
             _services.html
6. Richard Sorger and Jenny Udale. (2006). The Fundamentals of Fashion Design. London,  United Kingdom, Thames & Hudson.
7. Andrew Reilly. (2014). Key Concept for The Fashion Industry. London, United Kingdom, Bloomsbury Academic.
8. Bootcamp Bootleg. (2015). 1st ed. Institute of Design at Stanford.
 
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
2.1 แนวโน้มการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
  2.2 หลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
    3.1 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านหลักการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
    3.2 เอกสารแผ่นพับ สุจิบัตร นิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ องค์กร ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์