การวางแผนการผลิตสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ

Production Planning of Textile, Fashion and Jewelry

การจัดการและการบริหารองค์กรเพื่อเพิ่มผลผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
การพัฒนากรรมวิธีการผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิต
หลักและวิธีการวางแผนและควบคุมการผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร การจัดการและการบริหารองค์กรเพื่อเพิ่มผลผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ การพัฒนากรรมวิธีการผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิต หลักและวิธีการวางแผนและควบคุมการผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร การจัดการและการบริหารองค์กรเพื่อเพิ่มผลผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ การพัฒนากรรมวิธีการผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิต หลักและวิธีการวางแผนและควบคุมการผลิตงานด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน - อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจระบบการวางแผนการผลิต ให้นักศึกษาทำการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสิทธิบัตร กำหนดเวลาการส่งงานของนักศึกษา ให้ส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ตรวจสอบ เปรียบเทียบ ระหว่างผลงานในกลุ่มที่นักศึกษาออกแบบ สอบถามเกี่ยวกับสิทธิบัตรหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ ตรวจสอบการส่งผลงานตามกำหนดเวลา
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.2. มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎี
2.2 วิธีการสอน 2.2.1 เน้นให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎีเกี่ยวกับการวางแผนการผลิตสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ 2.1.2 เน้นให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในการวางแผนการผลิตสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ 2.1.3 บรรยาย มอบหมายงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยายบรรยายการวางแผนการผลิตสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1.1 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
บรรยายความสัมพันธ์ของการวางแผนการผลิตสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
4.3.1จากการสังเกต 4.3.2 จากผลงานที่มอบหมาย
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 5.1ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 บรรยาย แนะนำ วิธีการสืบค้นข้อมูลใน Internet
5.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 3 2 3 1 2
1 BAATJ116 การวางแผนการผลิตสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานที่มอบหมาย จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งการ การเข้าชั้นเรียน 8 และ 17 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20% 45% 25% 10%
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุสิ่งทอแฟชั่นและเครื่องประดับ
การสนทนา และตอบข้อคำถามระหว่างผู้สอน และผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 สังเกตการเรียน ความตั้งใจของนักศึกษา และการสอบถามของนักศึกษา 2.2 การอภิปราย การรายงาน การนำเสนอของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การตอบข้อสอบกลางภาคและปลายของนักศึกษา 2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินแล้วเรียงลำดับความสำคัญ หาปัญหา และแนวทางแก้ไข 3.2 ประชุมผลและวางแผนการจัดการเรียนการสอนเมื่อสิ้นภาคเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียน รายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา 4.2 การตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือปรับวิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับมุมมอง วิธีการ และรายละเอียดเนื้อหาที่หลากหลายเหมาะสมและทันกับสภาวะปัจจุบัน