ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ลอยตัว

Loose Furniture Design

- เข้าใจหลักการ และทฤษฎีในการออกแบบเครื่องเรือนได้
- ออกแบบและพัฒนางานออกแบบเพื่อการศึกษาได้อย่างถูกต้อง
- นำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ในการออกแบบเครื่องเรือน
                        ฝึกปฏิบัติ ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ลอยตัว ยุคสมัยต่างๆ โดยคำนึงถึง รูปแบบ ประเภท และลักษณะการใช้งาน แนวคิดในการออกแบบ ขนาดสัดส่วนที่เหมาะสมกับการใช้งาน วัสดุประเภทต่างๆที่ใช้ในการผลิต การแสดงแบบเฟอร์นิเจอร์และการจัดทำหุ่นจำลอง หรือการจัดทำต้นแบบ
1) ตระหนักถึงจรรยาบรรณในฐานะนักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2) มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
3) รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
4) มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ผู้อาวุโส
5) แสดงออกซึ่งภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ในสภาพแวดล้อมของการ
1)ใช้การสอนแบบเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคาถามหรือตอบคาถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม
2) ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณนักออกแบบผลิตภัณฑ์
3) อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณ การมีวินัยเรื่องเวลาการเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงการเคารพและให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
1) ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่หลักสูตร/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้าน
2) การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
3) ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา
1) มีความรู้ความสามารถในงานออกแบบอุปกรณ์ช่วยการผลิตและนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ
2) มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ และการประยุกต์ ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อ
3) มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบรวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
1) จัดการเรียนการสอนที่มีลักษณะยึดผู้เรียนเป็นสำคัญโดยจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างแท้จริง
1) ประเมินด้วยการสอบย่อย สอบกลางภาคการศึกษาและสอบปลายภาคการศึกษา
2) ประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของรายวิชาที่เรียนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
3) ประเมินจากชิ้นงานที่ผู้เรียนสร้างสรรค์แล้วนาเสนอผู้สอนทั้งเป็นกลุ่มและรายบุคคล
1) ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ และพัฒนาแนวคิดริ
2) สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน
3) สามารถนาผลของการสังเคราะห์ มาสร้างเป็นผลงานได้จริง
4) พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยกระบวนการคิดเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ ใคร่ครวญด้วยเหตุผล และ
2) จัดการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรง เช่น ฝึกปฏิบัติด้วยการออกแบบจากความต้องการของผู้ประกอบการจริง พูดคุยกับผู้ประกอบการแล้วสรุปเป็นสาระความรู้ แนวคิด รูปแบบ
1) ประเมินจากงานออกแบบอุปกรณ์ช่วยจับชิ้นงาน ที่ตอบสนองต่อปัญหาและการนาเสนอในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคล
2) ความก้าวหน้าในงานที่ได้รับมอบหมาย
3) Sketch Design, Product Design,
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) พัฒนาทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันและผู้อื่น
2) มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหา
3) พัฒนาทักษะการเรียนด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลา
4) แสดงออกทักษะการเป็นผู้นาได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทางา
1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงจากการทางานเป็นคู่ หรือเป็นกลุ่ม เพื่อฝึกความรับผิดชอบ ทักษะความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีมีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ปรับตัวและยอมรับความแตกต่างของคนในสังคม
2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ช่วยกันเรียนรู้
1) สังเกตการณ์ร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน
2) ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ความรับผิดชอบของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3) ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
1) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารและการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
2) สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์ และสถิติเพื่อนามาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา สรุปปัญหา และเสนอแนะ
3) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การเขียน การอ่านและตีความ โดยจัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอ
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนดัวยการจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้สถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อ
2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมและได้ข้อมูลที่ทันสมัย
1) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้ความคิด ความเข้าใจผ่านสื่อเทคโนโลยีแบบต่าง ๆ
2) สังเกตพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีในระหว่างร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ในชั้นเรียน หรือขณะร่วมกิจกรรมเสริมหลัก
6.1.1. สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
6.1.2. สามารถสร้างหรือผลิตหุ่นจาลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3. สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการ ออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
มอบงานทุกสัปดาห์ให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านการออกแบบของเครื่องเรือนสไตล์ต่างๆ โดยคานึงถึงสัดส่วนของเครื่องเรือนกับการใช้งานของมนุษย์ความงาม วัสดุโครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต การตกแต่งผิวขั้นสา
6.3.1 ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์
6.3.2 สอบกลางภาคและปลายภาค
6.3.3 วัดผลจากการประเมิน การนาเสนองานที่มอบหมายให้ ความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ
6.3.3 สังเกตพฤติกรรมการทากิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วม ของสมาชิกในห้อง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. 2551. วิวัฒนาการเฟอร์นิเจอร์.  กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สาคร คันธโชติ. การออกแบบเครื่องเรือน.  กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อุดมศักดิ์ สาริบุตร. 2550. การออกแบบเฟอร์นิเจอร์.  พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
วรรณิภัค สหสมโชค. 2551. การออกแบบเฟอร์นิเจอร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ส.ส.ท.
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).