วัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ

Textile, Fashion and Jewelry Materials

1.1 รู้เกี่ยวกับความสำคัญวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
1.2 รู้เกี่ยวกับสมบัติของวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
1.3 รู้เกี่ยวกับการแบ่งและการจำแนกชนิดวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
1.4  เข้าใจลักษณะโครงสร้าง สมบัติทางเคมีและทางกายภาพของวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
และการนำวัสดุไปใช้ประโยชน์
เพื่อเป็นการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชาวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับสำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรสิ่งทอและเครื่องประดับซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับประเภทและชนิดของวัสดุทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ แหล่งที่มา การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับงานทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับและการนำไปใช้ประโยชน์
ศึกษาเกี่ยวกับประเภทและชนิดของวัสดุทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ แหล่งที่มา การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับงานทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับและการนำไปใช้ประโยชน์
Study of sources and various kinds of materials for textile, fashion and jewelry, material selection and utilization for textile, fashion and jewelry.
- นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามความต้องการ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/
สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น  
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา และจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพด้วยกิจกรรมจิตสาธารณะในห้องเรียน
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ
3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน
3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
(1) มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานหน้าชั้น
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมและผลงานของนักศึกษา
4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคม
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานหน้าชั้นเรียนโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ104 วัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.2 3.1 สอบกลางภาค (สอบปฏิบัติ) สอบปลายภาค (สอบปฏิบัติ) 9 17 60%
2 1.1 6.1 6.3 ใบงาน ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1 1.2 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกาย การเข้าชั้นเรียน เรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 มณฑา จันทร์เกตุเลี้ยด.(2541). วิทยาศาตร์สิ่งทอเบื้องต้น.กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์.
1.2 อัจฉราพร ไศละสูต.(2539). ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ
1.3 Codina, C., 2005, The New Jewelry : Contemporary Materials & Techniques, New York,
Lark Books.
1.4 Padilla, Y.M., 2010, Bronze Metal Clay : Explore a New Material with 35 Projects, Lark
Jewelry.
1.5 Young, A., 2008, Jewellery Materials Sourcebook, London, A&C Black Visual Arts.
ไม่มี
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุสิ่งทอแฟชั่นและเครื่องประดับ
การสนทนา และตอบข้อคำถามระหว่างผู้สอน และผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 สังเกตการเรียน ความตั้งใจของนักศึกษา และการสอบถามของนักศึกษา
2.2 การอภิปราย การรายงาน การนำเสนอของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3 การตอบข้อสอบกลางภาคและปลายของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินแล้วเรียงลำดับความสำคัญ หาปัญหา และแนวทางแก้ไข
3.2 ประชุมผลและวางแผนการจัดการเรียนการสอนเมื่อสิ้นภาคเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียน รายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
4.2 การตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือปรับวิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับมุมมอง วิธีการ และรายละเอียดเนื้อหาที่หลากหลายเหมาะสมและทันกับสภาวะปัจจุบัน