วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ

Research Methodology in Design

ศึกษาระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย  การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
15
1. คุณธรรม จริยธรรม
   1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
         พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
         1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
         1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
         1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
         1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
         1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอน
      1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3 วิธีการประเมินผล
      1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้ และความเข้าใจ ในระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย  การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
  2.2.1 บรรยาย สังเกต และถาม-ตอบ 
  2.2.2 ยกตัวอย่างด้วยสื่อเทคโนโลยี 
  2.2.3 แนะนำเอกสารประกอบการเรียน
2.3.1 มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดจากหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน 
2.3.3 จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน
2.3.4 การทดสอบความรู้ตามบทเรียน
2.3.5 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมและสอดแทรกความซื่อสัตย์สุจริต
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิด และเขียนอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการศึกษาระเบียบวิธีวิจัย เอกสารผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือน กระบวนการทำวิจัย การวางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือ สถิติและการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลงานวิจัย และรูปแบบการรายงาน
3.2.1 บรรยาย สังเกต  ถาม-ตอบ ยกตัวอย่าง แบบฝึกหัด และฝึกปฏิบัติวิเคราะห์และแก้ไขปัญหากระบวนการกลุ่ม 
3.2.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดจากหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน
3.3.2 จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมต่อตนเองและสังคม
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล 
4.2.2 การทดสอบและฝึกปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยเอกสารที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
3.2.2 ประเมินจากการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์และแก้ไขปัญหากระบวนการกลุ่ม
 
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน 
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้นหาเอกสารและข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนองานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานและแบบฝึกหัดให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อเทคโนโลยี
5.2.2 ส่งงานและแบบฝึกหัดทางอินเตอร์เน็ต
5.3.1 ประเมินผลงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินผลจากการใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และทักษะการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACC402 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 8,17 , 1-7, 9-16 30
2 1.1, 1.2, 1.3, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.3, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 นำเสนอค้นคว้ารายบุคคล 13-16 60
3 1.1, 1.2, 1.3 - การเข้าชั้นเรียน, การแต่งกาย, การส่งงานตามเวลาที่กำหนด, การมีส่วนร่วม, อภิปรายเสนอความคิดเห็น 1-17 10
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก (การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง)
 
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2538). ชุดวิชาวิจัยทางการศึกษานอกโรงเรียน เล่มที่ 4: การศึกษาเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับการวิจัย. กรุงเทพฯ: กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ.
นงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ. (2533). คู่มือการเขียนโครงการวิจัย. วารสารการวัดผลการศึกษา.
กรุงเทพฯ:12(35): 43-72.ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
            มหาวิทยาลัย.
นงลักษณ์  วิรัชชัย (20-22 กรกฎาคม 2543).  (เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การทบทวน
            งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง” ในโครงการอบรมเรื่อง เทคนิคการดำเนินการวิจัยด้านการแพทย์
             และสาธารณสุข รุ่นที่ 2 ,กรุงเทพมหานคร :จัดโดย คณะสาธารณสุขศาสตร์ 
             มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ห้องไพลิน โรงแรมอมารี เอเที่ยม ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ 
             บางกะปิ เขตห้วยขวาง.
ระวีวรรณ  ชินะตระกูล. (2542). คู่มือทำการวิจัยทางการศึกษา.พิษณุโลก:สำนักหอสมุด
             มหาวิทยาลัยนเรศวร
Adams, G.R. and Schvaneveldt, J.D. (1991). Understanding Research Methods. 
             (SecondEdition). New York: Longman.
Bell, J. (1993). Doing Your Research Project: A Guide for First-Time Researchers in
Education and Social Sciences. Buckingham, Philadelphia: Open University 
            Press.
Best, J.W. and Kahn, J.V. (1993). Research in Education. (Seventh Edition). Boston: 
            Allyn and Bacon.
Butler, D.L. and Winne, P.H. (1995). Feedback and Self-Regulated Learning: 
            A Theoretical Synthesis. Review of Educational Research. 65(3):245-281.
Cash, P. (1983). How to Write a Research Paper Step by Step. New York: 
            Monarch Press.
Cooper, H.M. (1984). The Integrative Research Review: A Systematic Approach. 
            Beverly Hills: Sage Publications.
Cozby, P.C. (1995). Methods in Behavioral Research. (Third Edition). London: 
            Mayfield Publishing Company.
Dooley, D. (1990). Social Research Methods. (Second Edition). Englewood Cliffs,  
            N.J.: Prentice Hall.
Farenkel,J.R. and Wallen,N.E.(1993). How to Design and Evaluate Research in 
            Education. McGraw-Hill, Inc.
Glass, G.V., McGaw,B. and Smith, M.L. (1981). Meta-Analysis in Social Research. 
            Beverly Hills: Sage Publications.
Hedges, L.V.and Olkin, L. (1985). Statistical Methods for Meta-Analysis. Orlando, 
            Florida: Academic Press.
Hills, J. and Gibson, C. (1992). A Conceptual Framework fo Thinking about 
            Conceptual Frameworks: Bridging the Theory-Practice Gap. Journal of 
            Educational Administration.  30(4): 4-24.
Hunter, J.E. and Schmidt, F.L. (1990). Methods of Meta-Analysis: Correcting Error 
            and Bias in Research Findings. Newbury Park: Sage Publications.
Neuman,W.L.(1991).Social Research Methods: Qualitative and Quantitative 
            Approaches. Boston: Allyn and Bacon.
Rosenthal, R. and Rosnow, R.L. (1991). Essentials of Behavioral Research Methods 
            and Data Analysis. New York: McGraw-Hill, Inc.
Shaughnessy, J.J. and Zechmeister, E.B.(1994).Research Methods in Psychology. 
             New York: McGraw-Hill, Inc.
Sotiriou, P.E. (1984). Integrating College Study Skills: Reasoning in Reading, 
             Listening and Writing. Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.
Turabian, K.L. (1996). A Manual for Writers of Term Papers, Thesis and 
             Dissertations. (Sixth Edition). Chicago: The University of Chicago Press.
Van Til, W. (1986). Writing for Professional Publications. (Second Edition). Boston: 
             Allyn and Bacon, Inc.
Wiersma, W. (1991). Research Methods in Education: An Introduction. Boston: Allyn 
             and Bacon.
บุญชม  ศรีสะอาด.(2535). การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:สุวิริยาสาสน์.
มนสิช  สิทธิสมบูรณ์.(2543). พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)
            มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มนสิช  สิทธิสมบูรณ์.(2543). พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)
            มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศรีพรรณ  สิทธิพงศ์(2538). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย.เชียงใหม่. :ภาควิชาทดสอบและวิจัย
            การศึกษา คณะครุศาสตร์  สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. 
______(2540).ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย.วิจัย.เชียงใหม่. :ภาควิชาทดสอบและวิจัยการ
            ศึกษา คณะครุศาสตร์  สถาบันราชภัฎเชียงใหม่. 
อุทุมพร  (ทองอุไร)จามรมาน(2532). การเขียนโครงการวิจัย.กรุงเทพฯ. :ภาควิชาทดสอบและ
            วิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.
Fraenkel, Jackel R. and  Norman E. Wallen.(1990). How to Design  and Evaluate 
             Reseaceh  in Education.4  th ed New York:Mc  McGraw-Hill.
เกษม  สาหร่ายทิพย์.(2543). การวิจัยและการสร้างเครื่องมือสำหรับการวิจัยทางพฤติกรรม
            ศาสตร์และสังคมศาสตร์.พิษณุโลก : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์.(2540).ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้ง
            ที่ 5.กรุงเทพฯ:สามเจริญพาณิชย์. 
บัณฑิตวิทยาลัย.(2541).คู่มือการจัดทำบทวิทยานิพนธ์.พิษณุโลก:มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พวงรัตน์  ทวิรัตน์.(2540).วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้ง
            ที่ 2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.
มนสิช  สิทธิสมบูรณ์.(2543).พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)
            มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วาณี  เอี่ยมศรีทองและคณะ.(2542).ตุงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาเป็นอาชีพ.เชียงใหม่:
            ภาควิชาอาชีวศึกษา.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา แบบฝึกหัดหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา การร่วมวิเคราะห์งานกลุ่ม รวมถึงพิจารณาจากผลการ สังเกต การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการทดสอบและแบบฝึกหัดของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น 
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์