สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น

Thai Vernacular Architecture

1. เพื่อให้รู้ลักษณะสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นภาคเหนือ 2. เพื่อให้รู้แนวความคิดในการเลือกที่ตั้ง การวางผังหมู่บ้าน การวางผังบริเวณ และการวางผังอาคาร องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม การเลือกใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง เกี่ยวกับการปลูกสร้างอาคาร 3. เพื่อให้รู้วิธีการสำรวจ ถอดแบบ และการจำลองแบบจากอาคารตัวอย่าง ประเภทอาคารพักอาศัยและลักษณะลวดลายองค์ประกอบต่างๆในรูปแบบล้านนา 4. เพื่อสามารถเปรียบเทียบลักษณะสถาปัตยกรรมแต่ละชาติพันธ์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบได้
1. พัฒนา/ปรับปรุงเนื้อหาและการแบ่งหน่วยให้เหมาะสมทันต่อการประยุกต์ใช้ 2. เตรียมการเพื่อจัดทำสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับรูปแบบอาคารพื้นถิ่นของไทยภาคเหนือ วิเคราะห์รูปแบบที่เกิดขึ้นตลอดจน ค่านิยมทางวัฒนธรรม แบบแผนประเพณี วัสดุก่อสร้าง และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ มีการทัศนศึกษาและดูงานนอกสถานที่
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เฉพาะรายที่ต้องการ
 
พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีความซื่อสัตย์ มีน้ำใจ ใฝ่รู้ใฝ่คิด มีสำนึกในการหวงแหนรักษามรดกทางวัฒนธรรม ไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ มีวินัย อดทนและตรงต่อเวลาในการเรียนการสอนและการลงพื้นที่ พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
สอดแทรกสำนึกในการหวงแหนรักษามรดกทางวัฒนธรรม ระหว่างการเรียนการสอนทุกครั้ง เน้นจิตสำนึกอนุรักษณ์ต่อศิลปวัตถุและเคารพต่อสถานจริงที่ลงพื้นที่ในการศึกษา ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องความมีวินัย  ตรงต่อเวลา มอบหมายงานให้รับผิดชอบเป็นกลุ่มให้ช่วยเหลือกัน
ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน และการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในที่มา รูปแบบและประโยชน์ใช้สอย งานสถาปัตยกรรมไทยแบบพื้นถิ่นประเพณีจากศาสนสถานภาคต่างๆ เช่น วัด โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ทั้งการใช้พื้นที่ ตัวอาคาร และการประดับตกแต่ง ตลอดจน คติความเชื่อและประเพณีท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง
-   การบรรยายประกอบสื่อผสม - เน้นการลงพื้นที่ศึกษาจากสถานที่จริง -   การอภิปราย -   การนำเสนอรายงานการค้นคว้า
- ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินจากรายงานบุคคลและรายงานกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็นและการอภิปรายในห้องเรียน
พัฒนาความสามารถด้านการค้นคว้า เรียนรู้และวิเคราะห์สถาปัตยกรรมไทยที่เกิดขึ้นจากค่านิยมทางวัฒนธรรมแบบแผนประเพณี คติความเชื่อ วัสดุก่อสร้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมและสามารถประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในงานออกแบบได้
-  การบรรยายประกอบสื่อผสม - เน้นการลงพื้นที่ศึกษาจากสถานที่จริง -  การมอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอแนวคิดวิเคราะห์ -  การสะท้อนแนวคิดทางปรัชญาจากการอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินจากรายงานบุคคลและรายงานกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็นและการอภิปรายในห้องเรียน
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา -  มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน -  แสดงความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม -  รับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมายตรงเวลาที่กำหนด
-  มอบหมายงานกลุ่ม -  การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
-  ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย -  ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
-  ทักษะการสืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -  ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
-  บรรยายให้คำแนะนำและอภิปราย -  นำเสนอโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 
ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 3 4 5
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 3 1 3 2
1 42024408 สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ความเข้าใจและทักษะ ความรู้ความเข้าใจและทักษะในงานสถาปัตยกรรพื้นถิ่น ทุกสัปดาห์ 30%
2 ความรู้ความเข้าใจ การสอบกลางภาค/ปลายภาค 9/18 15%35%
3 ความรับผิดชอบ การเข้าชั้นเรียน การเอาใจใส่ต่อการเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การสังเกต/การทำรายงานกลุ่ม/การรายงาน ทุกสัปดาห์ 10%
เวบไซด์รายวิชา http://suebpong.rmutl.ac.th
1. ผศ.ดร.ธาดา สุทธิธรรม, สถาปัตยกรรมไทย, ขอนแก่น, พ.ศ.2541. 2. ศ.เฉลิม รัตนทัศนีย์, วิวัฒนาการศิลป สถาปัตยกรรมไทยพุทธศาสนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2539. 3. สมหมาย เปรมจิตต์และคณะ, พระเจดีย์ในล้านนา, เชียงใหม่, พ.ศ.2546 (พิมพ์ครั้งที่ 2) 4. ศ.โชติ กัลยาณมิตร, พจนานุกรม สถาปัตยกรรมและศิลปเกี่ยวเนื่อง, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2548(พิมพ์ครั้งที่ 2) 5. ผศ.วรลัญจก์บุณยสุรัตน์, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2544. 6. รศ.สุรพล ดำริห์กุล, แผ่นดินล้านนา, กรุงเทพฯ, 2539. 7. รศ.สมคิด จิระทัศนกุล, คติ สัญลักษณ์และความหมายของซุ้มประตู-หน้าต่างไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2546. 8. กรมศิลปากร, จอมเจดีย์, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2543. 9. รศ.สมคิด จิระทัศนกุล, วัด: พุทธศาสนาสถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2543. 10. นารถ โพธิประสาท, สถาปัตยกรรมในประเทศไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2542. 11. รศ.เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2537. 12. ผศ.สามารถ สิริเวชพันธ์, สถาปัตยกรรมล้านนา, เชียงใหม่, พ.ศ.2548. 13. ผศ.สามารถ สิริเวชพันธ์, เอกสารประกอบการสอนวิชาสถาปัตยกรรมไทย 2, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, พ.ศ.2527. 14. รศ.ฤทัย ใจจงรัก, สัดส่วนในงานสถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2544. 15. NithiSthapitanonda, Brian Mertens, Architecture of Thailand, Bangkok, 200
- สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย           -แบบประเมินผลให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นการสอนสัปดาห์สุดท้าย  -เน้นการเรียนแบบการลงพื้นที่จริงและสัมผัสวัตถุจริง
จัดประชุมคณาจารย์ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน วัดผลจากการเรียนและองค์ความรู้ที่นักศึกษาได้จากการลงพื้นที่ศึกษา
ใช้ผลการประเมินโดยนักศึกษา และการประเมินโดยทีมผู้สอน เป็นเครื่องมือปรับปรุงการสอนเป็นประจำทุกปีการศึกษา
-  มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา -  มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ           -  แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และมคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป