ปฐพีกลศาสตร์

Soil Mechanics

เพื่อให้นักศึกษารู้ถึงการเกิดของดิน ลักษณะและส่วนประกอบของดิน สามารถจำแนกประเภทของดินทางวิศวกรรม ความซึมได้ของน้ำและการไหลของน้ำในมวลดิน คำนวณหาหน่วยแรงในมวลดิน คำนวณหาค่ากำลังรับแรงเฉือน คำนวณหาค่าหน่วยแรงและความเครียดของดิน การยุบอัดตัวคายน้ำและการทรุดตัวของดิน เข้าใจวิธีการเจาะสำรวจชั้นดิน การบดอัดดิน คำนวณหาความสามารถในการรับน้ำหนักของดิน การวิเคราะห์เสถียรภาพลาดดิน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาปฐพีกลศาสตร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้นักศึกษารู้ถึงการเกิดของดิน ลักษณะและส่วนประกอบของดิน สามารถจำแนกประเภทของดินทางวิศวกรรม ความซึมได้ของน้ำและการไหลของน้ำในมวลดิน คำนวณหาหน่วยแรงในมวลดิน คำนวณหาค่ากำลังรับแรงเฉือน คำนวณหาค่าหน่วยแรงและความเครียดของดิน การยุบอัดตัวคายน้ำและการทรุดตัวของดิน เข้าใจวิธีการเจาะสำรวจชั้นดิน การบดอัดดิน คำนวณหาความสามารถในการรับน้ำหนักของดิน การวิเคราะห์เสถียรภาพลาดดิน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในห้องเรียน
- นักศึกษาสอบถามได้ในห้องเรียน นอกเวลาเรียนที่ห้องพักอาจารย์ ถามทาง email
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัด แย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร ตามข้อบังคับสภาวิศวกรดังนี้ ไม่กระทำการใดๆอันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
ต้องปฏิบัติงานที่ได้รับทำอย่างถูกต้องตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
ต้องประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้อำนาจหน้าที่โดยไม่ชอบธรรม หรือใช้อิทธิพล หรือใช้ผลประโยชน์แก่บุคคลใดเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับหรือไม่รับงาน ไม่เรียก รับ หรือยอมรับทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อย่างใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ จากผู้รับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวข้องในงานที่ทำอยู่กับผู้ว่าจ้าง ไม่โฆษณาหรือยอมให้ผู้อื่นโฆษณา ซึ่งการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความเป็นจริง ไม่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทำได้ ไม่ละทิ้งงานที่ได้รับทำโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ไม่ลงลายมือชื่อเป็นผู้ประกอบการวิชาชีพควบคุม ในงานที่ตนเอง ไม่ได้รับทำ ตรวจสอบ หรือควบคุมด้วยตนเอง ไม่เปิดเผยความลับของงานที่ตนได้รับทำ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้ว่าจ้าง ไม่แย่งงานจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น ไม่รับดำเนินงานชิ้นเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา เว้นแต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้นทราบล่วงหน้าแล้ว ไม่ดำเนินงานชิ้นเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา เว้นแต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้นทราบล่วงหน้าแล้ว ไม่ใช้หรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ยวกับงานของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้ประกอบวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น ไม่กระทำการใด ๆ โดยจงใจให้เป็นที่เสื่อมเสียแก่ชื่อเสียง หรืองานของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น
 
ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก มอบเอกสารประกอบการสอน และหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียน มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา การกระทำผิดจรรยาบรรณวิศวกร อภิปรายกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
เพื่อให้นักศึกษารู้ถึงการเกิดของดิน ลักษณะและส่วนประกอบของดิน สามารถจำแนกประเภทของดินทางวิศวกรรม ความซึมได้ของน้ำและการไหลของน้ำในมวลดิน คำนวณหาหน่วยแรงในมวลดิน คำนวณหาค่ากำลังรับแรงเฉือน คำนวณหาค่าหน่วยแรงและความเครียดของดิน การยุบอัดตัวคายน้ำและการทรุดตัวของดิน เข้าใจวิธีการเจาะสำรวจชั้นดิน การบดอัดดิน คำนวณหาความสามารถในการรับน้ำหนักของดิน การวิเคราะห์เสถียรภาพลาดดิน
บรรยายประกอบการสาธิต พร้อมมอบหมายให้นักศึกษารับผิดชอบ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินผลจากรายงานและผลงานที่มอบหมายให้นักศึกษาทำ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์แนวการป้องกันและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.1 อธิบายและมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดผลตามจุดประสงค์การสอน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น อ่านบทความงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา การใช้ทฤษฎีที่เรียนมาแก้ปัญหาโจทย์ที่นักศึกษาสนใจ ต้องการทราบคำตอบและมีวิธีตรวจสอบที่ถูกต้อง
4.2.3 การนำเสนอผลงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้าง ห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room ทักษะในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นผู้อื่นทางสังคมออนไลน์
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learningและทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน
ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 หน่วยที่ 1 การเกิดของดิน ลักษณะและส่วนประกอบของดิน
1.1 การเกิดของดิน
1.1.1 ประวัติและที่มาของวิชาปฐพีกลศาสตร์
1.1.2 งานทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวข้อง กับดิน
1.1.3 การกำเนิดของดิน
1.2 ลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของดิน
1.2.1 ลักษณะรูปร่างของเม็ดดิน
1.2.2 ลักษณะโครงสร้างของดิน
  3 - แจ้งเกณฑ์ความรู้วิชาปฐพีกลศาสตร์และการทดสอบ
-เกณฑ์ของสภาวิศวกรเพื่อขอรับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
-แจ้งเอกสารประกอบการสอน
-แจ้งการทดสอบ การให้คะแนน
-แจ้งกติกา ในการเรียนการสอน
-บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปิ่นแก้ว 2 1.3 คุณสมบัติพื้นฐานทางวิศวกรรมของดิน
1.3.1 ส่วนประกอบของดิน
1.3.2 คุณสมบัติทางด้านวิศวกรรมของดิน 3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปิ่นแก้ว 3 หน่วยที่ 2 การจำแนกประเภทดินทางวิศวกรรม
2.1 การจำแนกประเภทตามขนาดของเม็ดดิน
2.1.1 วิธีการหาขนาดของเม็ดดิน
2.1.2 การจำแนกดินตามขนาดของเม็ดดิน
2.1.3 ส่วนขนาดคละของเม็ดดิน
2.2 การจำแนกสภาพของดินตามปริมาณน้ำในดิน
2.2.1 สถานภาพของดิน
2.2.2 จุดแบ่งสถานภาพของดิน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อ. ปิ่นแก้ว สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน
ชั่วโมง กิจกรรม
การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 4 2.3 การจำแนกประเภทของดินตามมาตรฐานต่าง ๆ
2.3.1 การจำแนกประเภทของดินโดยอาศัย แผนภูมิสามเหลี่ยม
2.3.2 การจำแนกประเภทของดินตามระบบUNIFIED
2.3.3 การจำแนกประเภทของดินตามระบบASSHTO
  3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ อ. ปิ่นแก้ว 5 หน่วยที่ 3 ความซึมได้ของน้ำและการไหลของน้ำในมวลดิน หน่วยแรงในดิน
3.1 ความซึมได้ของน้ำ
3.1.1 กฎของ Darcy
3.1.2 พลังงานจากการไหลของน้ำ(Head)
3.1.3 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ในห้องปฏิบัติการ
3.1.4 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ใน สนาม
3.1.5 การหาค่าสัมประสิทธิ์ความซึมได้ใน กรณีดินหลาย ๆ ชั้น
3.1.6 Critical Hydraulic gradient 3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบอภิปรายการนำไปใช้ อ. ปิ่นแก้ว 6 3.3 ตาข่ายการไหลของน้ำในดิน
3.3.1 การเขียนตาข่ายการไหลของน้ำ ของชั้น ดินและเขื่อนดิน
3.3.2 ปริมาณน้ำที่ซึมผ่านชั้นดินจากตาข่ายการไหลของน้ำ
3.3.3 ความดันยกขึ้น (Uplift pressure) จากตาข่ายการไหลของน้ำ
3.2 หน่วยแรงในดิน
3.2.1 หน่วยแรงรวมของดิน
3.2.2 หน่วยแรงประสิทธิผลของดิน
3.2.3 กรณีทรายดูด (Quick Condition)
 
 
 
  3 -ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำความรู้ไป ใช้จริง
 
 
 
  อ. ปิ่นแก้ว สัปดาห์
ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรม
การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 7 หน่วยที่ 4 การหากำลังรับแรงเฉือน หน่วยแรง และความเครียดของดินที่มีความเชื่อมแน่น และไม่มีความเชื่อมแน่น
4.1 คุณสมบัติในการรับแรงเฉือนของดินที่มี ความเชื่อมแน่นและไม่มีความเชื่อมแน่น
4.1.1 กฎของ คูลอมบ์
4.1.2 ระนาบการพิบัติของดิน
4.2 กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดินที่มี ความเชื่อมแน่นและไม่มีความเชื่อมแน่น
4.2.1 กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดินในห้องปฏิบัติการ
4.2.2 กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนของดินใน สนาม 3 แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ใน วิชาวิศวกรรมฐานรากต่อไป
 
 
 
  อ. ปิ่นแก้ว 8 สอบกลางภาค       9 4.3 หน่วยแรงและความเครียด
4.3.1 ลักษณะการเกิดหน่วยแรงและ ความเครียด
4.3.2 Normal stress และ Shear stress
4.3.3 การเขียน Stress path
4.4 การกระจายหน่วยแรงในมวลดิน
4.4.1 หน่วยแรงในมวลดินโดยวิธีประมาณ
4.4.2 หน่วยแรงในมวลดินเมื่อมีน้ำหนักกระทำแบบจุด
4.4.3 หน่วยแรงในมวลดินเมื่อมีน้ำหนักแผ่ กระจาย
4.4.4 หน่วยแรงในมวลดินโดยวิธีกราฟฟิกของ New mark’s chart
  3 แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ใน วิชาวิศวกรรมฐานรากต่อไป
  อ. ปิ่นแก้ว สัปดาห์
ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรม
การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 10 หน่วยที่ 5 การยุบอัดตัวคายน้ำและการทรุด
ตัวของดิน
5.1 การยุบอัดตัวของดิน
5.1.1 ทฤษฎีของการยุบอัดตัวของดิน
5.1.2 การทดสอบการยุบอัดตัวของดิน
5.1.3 ค่าที่ได้จากการทดสอบการยุบตัวของดิน
5.1.4 การกำหนดแรงเค้นในอดีต 3 -แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ อ. ปิ่นแก้ว 11 5.1.5 การกำหนดค่าพารามิเตอร์จากห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการคำนวณการทรุดตัว ของชั้นดิน
5.1.6 การหาอัตราการยุบตัว จากผลการ ทดสอบในห้องปฏิบัติการ
5.1.7 ความสัมพันธ์ของการทำนายการทรุดตัว และเวลาในการทรุดของผลการทดสอบและ ชั้นดินต้นแบบ 3 แนะนำบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ใน วิชาวิศวกรรมฐานรากต่อไป
  อ. ปิ่นแก้ว 12 หน่วยที่ 6 วิธีเจาะสำรวจและเก็บตัวอย่างดิน
6.1 วิธีการวางแผนการสำรวจชั้นดินและการ เลือกจำนวนหลุมเจาะ
6.1.1 การวางแผนการสำรวจชั้นดิน
6.1.2 การเลือกจำนวนหลุมเจาะและความลึก ของการเจาะสำรวจสำหรับงานประเภทต่าง ๆ
6.2 การเจาะสำรวจดิน
6..2.1 วิธีการเจาะสำรวจดินและเครื่องมือที่ใช้ ในการเจาะสำรวจ
6.2.2 ชนิดของตัวอย่างดินและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การเก็บตัวอย่างดิน
6.2.3 การบันทึกข้อมูลและเขียนรายงาน
 
 
 
 
 
 
 
  3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้
 
 
  อ. ปิ่นแก้ว สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรม
การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 13 หน่วยที่ 7 การบดอัดดิน
7.1 การบดอัดดินในห้องปฏิบัติการ
7.1.1 ทฤษฎีการบดอัดดิน
7.1.2 มาตรฐานการบดอัดดินใน ห้องปฏิบัติการ
7.1.3 ผลของการบดอัดดินต่อคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน
7.2 การบดอัดดินในสนาม
7.2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการบดอัดดินในสนาม
7.2.2 การหาความหนาแน่นนของดินในสนาม 3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ อ. ปิ่นแก้ว 14 หน่วยที่ 8 เสถียรภาพความลาดชัด
8.1 เสถียรภาพของความลาด
8.1.1 ทฤษฎีเสถียรภาพของความลาด
8.1.2 รูปแบบ และสาเหตุการพิบัติ
8.1.2.1 รูปแบบการพิบัติ
8.1.2.2 สาเหตุของการพิบัติ
8.1.3 การป้องกันการพิบัติของความลาด
8.2 การคำนวณหาค่าเสถียรภาพของความ ลาด กรณีดินที่ไม่มีแรงเสียดทานภายใน
8.3 การคำนวณเสถียรภาพของความลาด กรณีดินมีแรงเสียดทาน
  3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ อ. ปิ่นแก้ว 15 หน่วยที่ 9 กำลังรับน้ำหนักของดิน
9.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการรับน้ำหนัก
ของดิน
9.1.1 รูปแบบการพิบัติของดิน
9.1.2 การกระจายของหน่วยแรงใต้ฐานราก
9.2 กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดิน
9.2.1 องค์ประกอบที่มีผลต่อกำลังรับ
น้ำหนักของดิน
9.2.2 กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดิน โดย ทฤษฎีของเทอร์ซากิ
 
 
  3 -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้
-บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
ทำโจทย์แบบฝึกหัด
ค้นคว้า อภิปรายการนำไปใช้ อ. ปิ่นแก้ว สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรม
การเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 16 หน่วยที่ 10 แรงดันด้านข้างของดิน
10.1 วิเคราะห์เกี่ยวกับแรงดันด้านข้างของ
ดิน
10.1.1 อธิบายทฤษฎีแรงดันด้านข้างของดิน
10.1.2 วิเคราะห์หาแรงดันด้านข้างแบบ แอ๊คริส
10.1.3 วิเคราะห์หาแรงดันด้านข้างของดิน แบบแอ๊คทีฟ
10.1.3.1 หน่วยแรงกระทำด้านข้างแบบแอ๊ฟ ทีฟ ประเภทดินทราย
10.1.3.2 หน่วยแรงกระทำด้านข้างแบบแอ๊ฟ ทีฟ ประเภทดินที่มีทั้งความเชื่อมแน่น และ แรงเสียดทาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGCV201 ปฐพีกลศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 - 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 30% 10% 30%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 - 2.6, 3.2,4.1 - 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 10%
3 1.1 - 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย. ความรู้เกี่ยวกับการเจาะสำรวจดิน. (2554). งานโครงสร้างและปฐพีกลศาสตร์. กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย.
คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพีในคณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมโยธา. (2551), แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่อวางฐานราก. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.
คณาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2540. คู่มือปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ Manual of soil mechanics laboratory. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
ชินะวัฒน์ มุกตพันธุ์ (2548), เอกสารประกอบการสอนปฐพีกลศาสตร์ (Soil Mechanics) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พิมพ์ครั้งที่ 1, หน่วยสารบรรณ งานบริหารธุรการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชิดชัย อนันตเศรษฐ์ (2540), สภาพทางปฐพีและฐานรากภาคเหนือ, เอกสารประกอบการสัมมนา วิศวกรรมฐานราก’ 46 อดีต ปัจจุบันและอนาคต, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, พฤศจิกายน, หน้า 1-13.
ชูศักดิ์ คีรีรัตน์ (2554), ปฐพีกลศาสตร์ (Soil mechanics), พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์ Top.
ฐิติพร พันธุ์ท่าช้าง (2561), “การประเมินชั้นดินและค่ากำลังรับแรงแบกทานที่ยอมให้ด้วยการทดสอบการเจาะสำรวจแบบหยั่งเบา”, วารสารวิชาการวิจัย มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร, 12(2).
ปิติ อังศุโวทัย (2525), เอกสารประกอบการสอนวิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วรรณี ศุขสาตร (2553), วิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering) พิมพ์ครั้งที่ 9, สำนักพิมพ์ โฟร์ พิช พับบลิชชิ่ง เฮาส์
วรากร ไม้เรียง (2526), เอกสารประกอบการสอนวิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วรากร ไม้เรียง (2542), วิศวกรรมเขื่อนดิน (Dam Engineering), พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์ ไรบรารี่ นาย.
สนิท พิพิธสมบัติ. (2552), วิศกรรมฐานราก (Foundation Engineering), พิมพ์ครั้งที่ 3, บริษัทครองช่าง พริ้นท์ติ้ง จำกัด
สถาพร คูวิจิตรจารุ. 2544. การเจาะสำรวจดินทางวิศวกรรม: การเจาะสำรวจ เก็บตัวอย่างและการทดสอบในสนาม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สุขสันติ์ หอพิบูลสุข และรุ้งลาวัลย์ ราชัน (2554), ปฐพีกลศาสตร์ (Soil mechanics), พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์ Mc Graw Hill.
สุขสันติ์ หอพิบูลสุข (2559), วิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering), พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์ Mc Graw Hill.
สุรเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวง (2557), ปฐพีกลศาสตร์ หลักการพื้นฐาน (Soil Mechanics: Fundamentals), พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2547), การทดสอบดิน เพื่องานปฐพีวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ห้างหุ้นส่วนสามัญพีระณัฏฐ์วิศวกรรม (2553), รายงานการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก โครงการอาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ สุขภาพ (สระว่ายน้ำ) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย.
Al-Khafaji, A. W., and Andersland, O. B. (1992). Geotechnical Engineering and Soil Testing. Saunders College Publishing.
Bashir, S., Javed, A., Bibi, I., & Ahmad, N. Soil and Water Conservation.
Bowles, J.E. (1996), Foundation Analysis and Designs, 5th edition, McGraw-Hill.
Budhu, Muni. (2008). Soil Mechanics and Foundation, 3rd edition. John Wiley & Sons.
Chang, W. J., & Phantachang, T. (2016). Effects of gravel content on shear resistance of gravelly soils. Engineering Geology, 207, 78-90.
Chen, F. H. (1999). Soil engineering: Testing, design, and remediation. CRC Press.
Clayton, Christopher RI, Noel Edward Simons, and Marcus C. Matthews. (1982). Site Investigation. No. Monograph.
Coduto, Donald P., Man-chu Ronald Yeung, and William A. Kitch. (2011). Geotechnical Engineering: Principles and Practices.
Cornforth, D. (2005). Landslides in practice: investigation, analysis, and remedial/preventative options in soils. Wiley.
Craig, Robert F. (2013). Soil Mechanics. Springer.
Das, Braja M. (2009). Principles of Geotechnical Engineering. Cengage Learning.
Das, Braja M. (2014). Principles of Foundation Engineering. Cengage learning.
EGAT. (1980). “Soil exploration by Kunzelstab penetration test” Elec-tricity Generating Authority of Thailand (EGAT), 1980.
Floor anthoni, J. (2018). Seafriendsorgnz. Retrieved 25 June, 2017, from http://www.seafriends.org.nz/enviro/soil/erosion2.htm
Gersango. (2017). InGeododo. Retrieved 25 May, 2017, from https://ingeododo.wordpress.com/2017/12/06/geotecnia-los-padres-fundadores/
Lambe, T.W. and Whitman, R.V. (1979), Soil Mechanics. SI version, John Wiley & Sons, Singapore
Holtz, Robert D., and William D. Kovacs.(1981). An Introduction to Geotechnical Engineering. No. Monograph.
Phantachang Thitiporn and Jotisankasa Apiniti (2010), “Investigation of Slope Instability of a Concrete -Faced Slope in Chiangrai.” in Proceedings of International Conference on Slope 2010 : Geotechnique and Geosynthetics for Slopes, 27-30 July, Chiang Mai, Thailand, 2010, pp. 41-46.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ของสำนักหอสมุด มทร ล้านนา ภาคพายัพ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
http://dlib.rmutl.ac.th/lib.php
http://www.sciencedirect.com
ASCE (http://ascelibrary.org/?gclid=COi31YGZzaUCFUQa6wodnBXViw)
Géotechnique (http://www.icevirtuallibrary.com/content/serial/geot)
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกห้องเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล การ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ