ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2

Interior Architectural Design 2

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวความคิด สไตล์ในการออกแบบ การจัดวางพื้นที่ใช้สอย การจัดวางเฟอร์นิเจอร์ ขั้นตอนการออกแบบ ตามหลักการ,ทฤษฎีทางการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน และงานระบบต่างๆที่เกี่ยวข้อง
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน อาคารประเภทที่พักอาศัยลักษณะพิเศษแบบต่างๆ เช่นTown House Condominium Home Office และ Luxury House โดยคำนึงถึงคุณค่าและความหมายตามคุณลักษณะของที่พักอาศัยลักษณะพิเศษ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวความคิดในการออกแบบ สไตล์การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในที่พักอาศัยลักษณะพิเศษ ที่ทันต่อกระแสปัจจุบัน และวัสดุ หรืองานระบบต่างๆ ที่ทันสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน อาคารประเภทที่พักอาศัยลักษณะพิเศษ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผู้อยู่อาศัยจริงเพื่อจัดทำกระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล แนวความคิด  หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน และงานระบบที่เกี่ยวข้อง
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
       -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 เช็คชื่อทุกครั้ง มีกติกาถ้าเกินเวลาที่กำหนดสาย จัดกลุ่มนักศึกษาช่วยงานประจำสัปดาห์
1.3.1   สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน ความรับผิดชอบในการดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม
1.3.2   จากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์และการถามตอบ
2.2.2 การทำงานกลุ่มและการนำเสนอ
2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประสิทธิผลของการค้นคว้า การสรุปและนำเสนอรายงาน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยาย มอบหมายงานออกแบบและนำเสนอตามความสนใจในหัวข้องานที่กำหนด
3.2.2 นักศึกษาลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอน สรุปผลการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะ
3.3.1 ประเมินจากผลงานออกแบบ การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ
3.3.2 การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน สรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ
    5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
                   5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 บรรยาย อภิปราย สาธิตในห้องเรียน
5.2.2 นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองจากอินเตอร์เน็ต E-Learning ในการหาข้อมูลสนับสนุน
5.2.3 นำเสนอโดยใช้รูปแบบที่เหมาะสม
5.3.1 การมีส่วนร่วมในการนำเสนอ และวิธีการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
          6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
          6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 1 2 1 2 1 2 3
1 BARIA102 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน พฤติกรรมการทํางานกลุ่มของนักศึกษา ตลอดภาค การศึกษา 10
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประสิทธิผลของการค้นคว้า การสรุปและนําเสนอ รายงาน 9 18 ตลอดภาค การศึกษา 20
3 ทักษะทางปัญญา ผลงานออกแบบ การนําเสนอแบบตามแนวคิด อย่างมีระบบ การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ ตลอดภาค การศึกษา 40
4 - - - -
5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขการ สื่อสารและการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ การมีส่วนร่วมในการนําเสนอ และวิธีการนําเสนอ ทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ตลอดภาค การศึกษา 20
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาค การศึกษา 10
Francis D.K. Ching. Interior Design Illustrated. United States of America: Van Nostrand Reinhold, 1943
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ