สัมมนาทางสถาปัตยกรรม

Seminar in Architecture

1.เพื่อให้นักศึกษาเสนอแนวทางการวิพากษ์เกี่ยวกับปรัชญาและแนวความคิดทางสถาปัตยกรรม ตลอดจนแนวทางการพัฒนาความรู้เพื่อพัฒนาทั้งวิชาชีพและวิชาการด้านสถาปัตยกรรมในสังคมไทย
1.เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับหัวข้อในการสัมมนา, จุดมุ่งหมายการสัมมนา และ และกระบวนการจัดสัมมนาทางสถาปัตยกรรม
2.เพื่อให้นักศึกษาทั้งหมดมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นอย่างเป็นเหตุผลตามตรรกะวิทยาและพื้นฐานของสิทธิตามหลักประชาธิปไตย
ศึกษาการสัมมนาเกี่ยวกับปรัชญาและแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม พัฒนาการของงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัย ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและการใช้สอยอาคาร ตลอดจนผลกระทบต่อชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)โดยระบุวัน เวลา ด้วยการแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม

 
2. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3.มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
4.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคม และสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการท างาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำาเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
 
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่างๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดท า
(4) ประเมินจากการน าเสนอรายงานในชั้นเรียน
(5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(6) ประเมินจากแผนการดำเนินงานวิทยานิพนธ์ที่น าเสนอ
(7) ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
 
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ
วิชาชีพ
(2) มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ใช้กรณีศึกษา การออกแบบสถาปัตยกรรมหรือการจัดท าวิทยานิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เน้นการสื่อสารระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบสอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคมมอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันท าหน้าที่ผู้น าและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
(1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข
ปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับเนื้อหาข้อมูลและสภาพของผู้สื่อสาร
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขเเละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา 2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ ศึกษา 3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ 2มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่่ดี 2มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข ปัญหาอย่างเหมาะสม 3สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 1 2 3
1 BARAT505 สัมมนาทางสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9,18 15%,20%
3 ด้านทักษะทางทางปัญญา - วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน - การจัดสัมมนากลุ่ม - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การจัดสัมมนากลุ่ม/การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในสาธารณะ ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย 17 5%
Babbie, E. (1998). The Practice of Social Research (8th Edition). Belmont, CA: Wadsworth Publishing Company; ISBN: 0534574912 Creswell, J. (2002). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed Method Approaches. Thousand Oaks, CA: Sage Publications ISBN: 0761924426 Spector, P. E. (1981). Research Designs. Newbury Park, CA: Sage Publication; ISBN 0803917090
-
1.เทเลอร์, เอช. เอ็ม, คู่มือการประชุม-สัมมนา / H.M. Taylor, A.G. Mears ; บุราณี สุวรรณภิรมย์ แปล Imprint กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2537 Edition
พิมพ์ครั้งที่ 2
-
-
-
-
-