การจัดแสดงผลงานสิ่งทอและเครื่องประดับ

Textiles & Jewelry Display and Exhibition

 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและชนิดของการแสดงสินค้าและนิทรรศการ  หลักการในการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ      ระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับประเภทและชนิดของการแสดงสินค้าและนิทรรศการ  หลักการในการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ  เข้าใจปัญหา และสามารถแก้ปัญหา วางแผน ในเรื่องพื้นที่ วิธีการ ขั้นตอนในการจัดแสดงสินค้าและการจัดนิทรรศการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภทและชนิดของการแสดงสินค้าและนิทรรศการ  หลักการในการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ  ระบบงานที่ใช้ประกอบการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
-อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเวลาในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  
-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1    มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม 1.1.2    มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา  และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม 1.1.4    เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
1.2.1   ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2    บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม  และมีความเสียสละแก่ส่วนรวม
1.2.3   จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม  เคารพสิทธิของผู้อื่น ฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่ม
   
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2  ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมของรายวิชาและหลักสูตร
1.3.3  ประเมินจากการมีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3.4  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1    มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2    สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1   บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงานให้เกิดรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การจัดแสดงผลงานสิ่งทอและเครื่องประดับ
2.2.2  ติดตามความก้าวหน้าของการจัดวางแผน ในเรื่องสถานที่ วิธีการ ขั้นตอนในการจัดแสดงสินค้าและการจัดนิทรรศการ  
2.2.3  จัดให้มีการเรียนรู้   บูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ  จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานตามรายวิชาการจัดนิทรรศการ 
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน  จากโครงการที่นำเสนอการจัดแสดงผลงานสิ่งทอและเครื่องประดับ
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ จัดแสดงผลงานสิ่งทอและเครื่องประดับ 3.2.2   การอภิปรายกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการจัดแสดงสินค้าและการจัดนิทรรศการ 3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ 3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  4.2.2   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  การนำเสนอรายงานการจัดนิทรรศการ 
4.3.1  ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจน 4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1    สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง วางแผนการจัดนิทรรศการโดยเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43041031 การจัดแสดงผลงานสิ่งทอและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 2.2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
วัฒนะ จูฑะวิภาต. 2531 การออกแบบตกแต่งภายในและเทคนิคในการออกแบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ปรารถนา   วัฒนะ จูฑะวิภาต   2542  ศิลปะการจัดนิทรรศการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัฒนะ จูฑะวิภาต   2526  การจัดนิทรรศการ. กรุงเทพฯ : กลิ่นแก้ว
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์