มูลฐานของวิศวกรรมการผลิต

Fundamentals of Production Engineering

เรียนรู้เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการการผลิตในอุตสาหกรรม วิทยาการการวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ ซึ่งเป็นการประสานความรู้เชิงกว้างในการปฏิบัติการทางวิศวกรรมและใช้ความรู้ทางด้านการจัดการที่ท้าทายต่อการผลิตให้มุ่งสู่เป้าหมายของความสำเร็จในการทำให้กระบวนการผลิตไม่สะดุด รอบคอบมากที่สุดและเป็นแนวทางที่ประหยัดที่สุด
เพื่อศึกษา เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการการผลิตในอุตสาหกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการการวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ
ศึกษาการประสานความรู้เชิงกว้างในการปฏิบัติการทางวิศวกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ความรู้ทางด้านการจัดการที่ท้าทายต่อการผลิต
ศึกษาเป้าหมายของความสำเร็จในการทำให้กระบวนการผลิตไม่สะดุด
ศึกษาเกี่ยวกับความรอบคอบที่สุดเป็นแนวทางที่ประหยัดที่สุด
เรียนรู้เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการการผลิตในอุตสาหกรรม วิทยาการการวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ ซึ่งเป็นการประสานความรู้เชิงกว้างในการปฏิบัติการทางวิศวกรรมและใช้ความรู้ทางด้านการจัดการที่ท้าทายต่อการผลิตให้มุ่งสู่เป้าหมายของความสำเร็จในการทำให้กระบวนการผลิตไม่สะดุด รอบคอบมากที่สุดและเป็นแนวทางที่ประหยัดที่สุด
- อาจารย์ประจำรายวิชา - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางต่างๆ ต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผูกประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การนำเสนองานตามลำดับเวลาที่กำหนด สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม  
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
มีความรู้เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการการผลิตในอุตสาหกรรม วิทยาการการวิศวกรรมร่วมกับวิทยาการการจัดการ ซึ่งเป็นการประสานความรู้เชิงกว้างในการปฏิบัติการทางวิศวกรรมและใช้ความรู้ทางด้านการจัดการที่ท้าทายต่อการผลิตให้มุ่งสู่เป้าหมายของความสำเร็จในการทำให้กระบวนการผลิตไม่สะดุด รอบคอบมากที่สุดและเป็นแนวทางที่ประหยัดที่สุด
บรรยาย อภิปราย  พร้อมยกตัวอย่างลักษณะของตัวอย่างงานจริง รวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานในวิชาที่เกี่ยวข้องที่เคยได้เรียนมาก่อนหน้า
สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์เป็นรายคน ตามหัวข้อในใบงานต่างๆ
สังเกตและประเมินจากผลงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้ทำและนำมาส่ง โดยพิจารณาความตรงต่อเวลา ความถูกต้อง และขั้นตอนวิธีการคิด
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสํานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมในการนำเสนอ
5.1.1 มีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สําหรับการทํางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศหรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
การแสดงแบบฝึกหัดในห้องเรียน
สังเกตการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา
 6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งตามที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
การแสดงแบบฝึกหัดในห้องเรียน
สังเกตการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGMC119 มูลฐานของวิศวกรรมการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม วินัยในการปฏิบัติงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย/ การมีส่วนร่วมในห้องเรียน 1-17 10
2 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค/ การส่งงานตามที่มอบหมาย 9 : 17 40:40
3 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในห้องเรียน 1-17 10
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการสอบของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยทำการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ