วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ

Science for Health

1. เข้าใจอาหารเพื่อสุขภาพ 2. เข้าใจพืชพิษและสมุนไพรในชีวิตประจำวัน 3.  เข้าใจยาและการใช้ยา 4.  เข้าใจเครื่องสำอาง 5.  เข้าใจโรคที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน 6. เข้าใจการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม 7.  มีเจตคติที่ดีและถูกต้องในการดูแลสุขภาพ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และสังคมต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับ อาหารเพื่อสุขภาพ พืชพิษและสมุนไพรในชีวิตประจำวัน ยาและเครื่องสำอาง โรคที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน และการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
แนะนำในห้องเรียน ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นที่เตรียมไว้ รับฟังและวิเคราะห์ความคิดเห็นของเพื่อน เพื่อสรุปร่วมกัน อธิบาย ความหมาย ข้อดี ข้อเสีย แบ่งกลุ่มระดมความคิด แนะนำและยกตัวอย่าง บอกระเบียบการเข้าชั้นเรียน แนะนำในห้องเรียน มีสัมมาคารวะให้ความเคารพต่อผู้อาวุโส
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา - การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น - สอบข้อเขียน - นำเสนอในชั้นเรียน - ผลการเข้าชั้นเรียน - การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา - การทำงานร่วมกับผู้อื่น 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สอน อธิบาย ยกตัวอย่างตามวิชาการ ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่าง ๆ กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ นอกเวลาเรียน อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน แบ่งกลุ่มค้นคว้าข้อมูลและรายงาน
- สอบย่อย - สอบข้อเขียนกลางภาค - สอบข้อเขียนปลายภาค - งานที่มอบหมาย - รายงาน - ผลงานที่นำเสนอ - สอบข้อเขียน - ข้อเสนอความคิดของนักศึกษา และนำเสนอในชั้นเรียน - จัดกิจกรรมนำเสนอผลงานกลุ่มเป็นภาษาตะวันตก/นำผลงานกลุ่มที่เชื่อมโยงกับสาขาสังคม
3.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  
3.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ ทำกิจกรรมบทบาทสมมติ การมอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนอ กำหนดสถานการณ์ให้นักศึกษาแก้ปัญหา
-ทดสอบย่อย -วิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการ -ประเมินจากการแสดงออก -ประเมินผล/แบบฝึกหัด และการนำเสนอ -ลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหา
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มา ช่วยเหลือสังคมในประเด็น ที่เหมาะสม
กำหนดประเด็นให้นักศึกษาวิเคราะห์และหาข้อสรุปเป็นข้อตกลงร่วมกันของห้อง มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน ให้มีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมายเพื่อให้นักศึกษาทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด ให้มีการแข่งขันระหว่างห้องเพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มใหญ่และฝึกการแก้ปัญหา ให้นักศึกษาคิดโครงการ/กิจกรรมเผยแพร่ ความรู้สู่สังคม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่มทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ วิเคราะห์บทบาทความรับผิดชอบของนักศึกษาที่มีต่อกลุ่มขณะทำงาน/กิจกรรม ผลการจัดกิจกรรม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่มทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ วิเคราะห์บทบาทความรับผิดชอบของนักศึกษาที่มีต่อกลุ่มขณะทำงาน/กิจกรรม ผลการจัดกิจกรรม
แนะนำในห้องเรียน แนะนำให้นักศึกษาและวิธีการใช้พอ  สังเขป ฝึกให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและฝึกการนำเสนอข้อมูล ปรับแก้และแนะนำการใช้ภาษาที่ถูกต้องทันทีเมื่อพบข้อบกพร่อง
สังเกตจากการเลือกใช้เครื่องมือสื่อสาร คุณภาพผลงานที่ได้รับมอบหมาย
การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาโดยรวมของห้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3
1 GEBSC105 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.3,3.2 การทดสอบย่อย(Quiz) 4 ครั้ง 1-15 10%
2 1.2,3.1,2.1,2.4,3.1,3.2 งานกลุ่ม ผลงานที่ได้รับมอบหมายส่วนบุคคล 1-15 15% 15%
3 1.1,1.2,2.1,2.4,3.1,3.2 สอบกลางภาค 7 25%
4 1.1,1.2,2.1,2.4,3.1,3.2 สอบปลายภาค 17 25%
5 1.3,1.5,1.- 1.3,4.3 1.1,1.3,1.5,1.-,4.1,4.2,4.3 4.1,4.2,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1-15 1-15 1-15 4,5,15 10%
พวรรณ  เรืองขจร.(2550) สุขภาพส่วนบุคคลและชุมชน. หจก.ภาพพิมพ์.กรุงเทพ    อรัญญา  มโนสร้อย.(2549) เครื่องสำอางเล่มที่1. โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์.กรุงเทพ    เริงนภรณ์ โม้พวง, (2557)  เอกสารคำสอนวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ. คณะวิทยาศาสตร์และ  เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, 157 หน้า    เริงนภรณ์ โม้พวง . (2558) เคมีกับชีวิต. บริษัทโฟกัส จำกัด.พิษณุโลก. 268 หน้า    ไมตรี  สุทธิจิตต์.(2551) สารพิษรอบตัว. ดวงกมลพับลิชซิ่ง.กรุงเทพ    Wilson, Kathleen J.W. & Waugh, Anne. (1996) Anatomy and Physiology  in ltealth and Illness. 8th ed.     Churchill Livingstone. Hongkong.
ไม่มีข้อมูล
http://www.anamai.moph.go.th
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึงวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา  จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทบทวนผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลักการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณา ให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาต่อไป