ออกแบบผลิตภัณฑ์ 4

Product Design 4

        รู้ เข้าใจและมีทักษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามกระบวนการขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยใช้ความคิดรวบยอดในการออกแบบที่แตกต่างกัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ          การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ นำไปประยุกต์ใช้กับการออกแบบรายวิชาโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต  หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต  หลักสูตรศิลปบัณฑิต
      ศึกษาและปฏิบัติการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามกระบวนการขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยใช้ความคิดรวบยอดในการออกแบบที่แตกต่างกัน
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
  มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม

1.1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม

  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และ จริยธรรม บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มอบหมายรายงาน, งานเดี่ยว, งานกลุ่ม ฝึกการมีวินัย ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคมและสิ่งแวดล้อม

บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา กำหนดให้นักศึกษาหาเสนอเอกสารอ้างอิง แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมา รายงานจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สืบค้น  และ การนำข้อมูลมาเผยแพร่ การอ้างอิงถึงที่มา
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2   ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
          2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
          2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
         2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้าน            วิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย  
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
    6.1.1.  สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
    6.1.2.  สารารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
    6.1.3.  สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการ                    ออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
มอบงานทุกสัปดาห์ให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านเขียนแบบและออกแบบผลิตภัณฑ์  แนวความคิด  ขั้นตอนการออกแบบ   ประโยชน์ใช้สอย    สัดส่วนของผลิตภัณฑ์กับการใช้งานของมนุษย์  วัสดุ อุปกรณ์ และโครงสร้าง  กรรมวิธีการผลิต การตกแต่งผิว  และการทำหุ่นจำลอง รวมถึงต้นแบบผลิตภัณฑ์
6.3.1   ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์
6.3.2   สอบกลางภาคและปลายภาค 
6.3.3   วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความ ถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ
6.3.3   สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในห้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43023350 ออกแบบผลิตภัณฑ์ 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 8 15%
2 สอบปลายภาค 17 15%
3 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
4 การเข้าชั้นเรียน,การแต่งกาย,การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,2554
            นวลน้อย  บุญวงษ์. หลักการออกแบบ.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539
            ประเสริฐ  พิชยะสุนทร. ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
ดลต์  รัตนทัศนีย์.  ขบวนการออกแบบทางศิลปะอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ:  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง,2528
ทวิส  เพ็งสา. รูปร่างและประโยชน์ใช้สอย.กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,2528
            สาคร  คันธโชติ  การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,2544
            ธีรกิติ นวรัตน  ณ อยุธยา, ผลิตภัณฑ์ใหม่:การตลาดและการพัฒนา.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2552
.1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอน และผู้เรียน  1.2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
2.1. การสังเกตุการสอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1. ประชุมเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอน  3.2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
4.1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา ดดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชิฯ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกๆ 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4   5.2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์