จุลชีววิทยาทางการเกษตร

Microbiology in Agriculture

เพื่อมุ่งหมายให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในพื้นฐานของวิชาจุลชีววิทยาทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการ  และ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจบทบาทและคุณลักษณะของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพืชทั้งจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญของพืชและจุลินทรีย์ก่อโรคพืช รวมทั้งให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างจุลินทรีย์และพืชในรูปแบบต่างๆ และ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ในทางการเกษตรเพื่อเป็นปุ๋ยชีวภาพและใช้ในการควบคุมทางชีววิธี เข้าใจกลไกการแสดงออกของยีนของจุลินทรีย์ที่มีความสัมพันธ์กับพืชในรูปแบบต่างๆ และ มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรมในการใช้จุลินทรีย์ปรับปรุงพันธุ์พืช
เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของนักศึกษาที่รับเข้ามา สถานการณ์ของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพในธุรกิจเป้าหมายที่นักศึกษามีโอกาสไปประกอบอาชีพได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิธีการทางจุลชีววิทยาการจำแนกการดำรงชีพการเจริญเติบโตการสืบพันธุ์และอื่นๆของจุลินทรีย์ทางการเกษตรรวมทั้งการตรวจแยกการประยุกต์ใช้และการควบคุมจุลินทรีย์ทางการเกษตร
2 ชั่วโมง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์ มีวินัย มีคุณธรรมและจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
             1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
             1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
             1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
บรรยายหลักคุณธรรม แทรกระหว่างเนื้อหาวิชาการ พร้อมยกตัวอย่างหลักธรรมที่นักศึกษาควรรู้

2. เปิดโอกาสให้ซักถาม ตั้งคำถาม และอภิปรายระหว่างบรรยาย
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.   ความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายหลักการต่าง ๆ ทางวิชาการ ให้ข้อมูลพื้นฐาน พร้อมภาพประกอบ ยกตัวอย่างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และที่นักศึกษาสายเกษตรกรรมจำเป็นต้องทราบ รวมทั้งใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย อภิปราย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การทำกิจกรรมกลุ่ม ทั้งนี้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ และฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม พร้อมกับการรายงานหน้าชั้นเรียนเพื่อประมวลผลความรู้จากการรับฟังในภาคบรรยาย และการทำปฏิบัติการ มีการทำรายงานและค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต โดยนำมาสรุป และนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหา (Problem Base Learning) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) และ การเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student Center)
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ
2.3.2   ประเมินจากการตอบคำถามในห้องเรียน และความรับผิดชอบในงานมอบหมายที่กำหนด
3.3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1   ยกตัวอย่างปัญหาต่าง ๆ ในด้านวิชาการ และในชีวิตประจำวัน แล้วให้หาวิธีแก้ปัญหา
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1  มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.2.2  การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอ
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.1, 2.1 1.1, 2.1 3.1, 4.1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 1, 2, 3, 4 สอบปลายภาค การประเมินบทบาทในชั้นเรียน และผลสัมฤทธิ์จากกิจกรรม 1 – 8 9 – 18 80%
2 1.1, 2.1, 3.1, 4.1,5.1 งานมอบหมายต่าง ๆ ตลอดภาคการศึกษา 20%
[1] นีลวรรณ พงศ์ศิลป์ (พ.ศ. 2552) “จุลชีววิทยาทางการเกษตร (Agricultural Microbiology)” โครงการตำรา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพ์ครั้งที่ 1 ที่ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
[2] Sprent, J.I. and Sprent, P. (1990). Nitrogen Fixing organisms: Pure and Applied Aspects. Chapman and Hall, London.
[3] Tate III, R.L. (2000). Soil Microbiology. John Wiley & Sons, Inc. New York.
[4] Van Elsas, J.D., Jansson, J.K. and Trevors, J.T. (eds.) (2007). Modern Soil Microbiology. CRC Press, New York.
[1] เอกสารประกอบการสอน รายวิชา Agricultural Microbiology
              เวปไซต์ที่แนะนำ
                       เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ อาศัยความมีส่วนร่วมของนักศึกษาโดยผ่านกิจกรรมดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (ทั้งในระหว่างเรียนและหลังจบภาคเรียน)

2. การประเมินผู้สอน และการประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลจากกิจกรรมการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายวิชา ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจวิเคราะห์ผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบโดยภาพรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบโดยการให้นักศึกษามาทดสอบปฏิบัติจริงแล้วสังเกตการปฏิบัติว่าทำถูกต้องตามกระบวนการทำงานหรือไม่อย่างน้อยร้อยละ 70 ที่ทำได้ถูกต้อง
4.2   ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชาทุกปี