การเพาะเห็ด

Mushroom Culture

ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและลักษณะทางชีววิทยาของเห็ด เห็ดพิษและความเป็นพิษของเห็ด ปัจจัยและวิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเห็ด การทำเชื้อและเพาะเห็ดชนิดต่างๆ การปฏิบัติดูแลรักษา การบริหารศัตรูเห็ด การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และธุรกิจการเพาะเห็ด
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเพาะเห็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำไปทำเป็นธุรกิจได้
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและลักษณะทางชีววิทยาของเห็ด เห็ดพิษและความเป็นพิษของเห็ด ปัจจัยและวิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเห็ด การทำเชื้อและเพาะเห็ดชนิดต่างๆ การปฏิบัติดูแลรักษา การบริหารศัตรูเห็ด การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และธุรกิจการเพาะเห็ด
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรม
š1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
- มอบหมายงานให้ทำส่งโดยกำหนดระยะเวลาที่เหมาะสมในการส่งงาน
- ให้มีการนำเสนองานค้นคว้าตามกลุ่มกิจกรรมดูความร่วมมือในกลุ่มและการอ้างอิงของเอกสารที่ค้นคว้า
- ในการสอบย่อยสังเกตพฤติกรรมในการสอบทุกครั้ง
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็นของ     นักศึกษา การเคารพ และให้เกียรติแก่อาจารย์ เป็นต้น
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และ        การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด 
- ความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
- ประเมินความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- ความรับผิดชอบหน้าที่ของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
- จากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
- จากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
2.  ด้านความรู้
š2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความความรู้
š 2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต  ในระหว่างเรียนเป็นต้น
- มอบหมายงานค้นคว้า
- ค้นคว้าและนำเสนอเป็นรายกลุ่ม
- ดูงานนอกสถานที่
- ทดสอบย่อย
- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคลและนำเสนอรายงานรายกลุ่ม
3.  ด้านทักษะทางปัญญา
˜3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
š3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
- การสอนโดยใช้ปัญหาจากตัวอย่างจริงเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความ  น่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากการเก็บตัวอย่างจริงมาศึกษาในห้องปฏิบัติการ ในแปลงเกษตรกร
- นำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- การสอบปากเปล่า
- การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
˜4.1  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
š4.2  กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล       และด้านความรับผิดชอบ
- สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
˜5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำเสนอรายงานโดยใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ส่งงานทั้งรายงานและทางอิเลคทรอนิค
-ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือในรายวิชาให้เหมาะสมกับงาน
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 3.1, 4.1, 5.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 60%
2 1.2, 3.1 -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินผลงานการทำ งานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน -การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล -ประเมินผลงานการทำ งานจากรายงาน พร้อมนำ เสนอหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 -คุณธรรม จริยธรรม -การเข้าชั้นเรียน(บันทึกเวลาการมาเรียน) -สังเกตพฤติกรรมจากการมีส่วนร่วมในชั้น เรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชาญยุทธ์ ภานุทัต และนงนุช แตงทรัพย์ . 2538. เทคนิคการเพาะเห็ด. กรมสงเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ. 46 หนา.
ดีพร้อม ไชยวงศเกียรติ. 2532. การเพาะเห็ดบางชนิดในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 188 หนา.
ดีพร้อม ไชยวงศเกียรติ. 2539. การเพาะเห็ดหลินจือ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 80 หนา.
บุญทา วรินทร์รักษ์ . 2526. การทำเชื้อและการเพาะเห็ด. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปญญา โพธิ์ฐิติรัตนและ กิตติพงษศิริวานิชกุล.   
        2537. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ. 421 หนา.
ภาควิชาจุลชีววิทยา. 2542. จุลชีววิทยาปฏิบัติการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
วิฑูรย์ พลาวุฑฒ์ . 2527. การทำเชื้อและการเพาะเห็ด. วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช.
อนงค์ จันทรศรีกุล. 2520 เห็ดเมืองไทย. สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ.
อานนท์ เอื้อตระกูล. 2522. การเพาะเห็ดฟางฉบับสมบูรณ์. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.   
อุราภรณ์ สอาดสุด และ สมศรี หล้าบุดดา .2551. การผลิตหัวเชื้อและก้อนเชื้อเห็ดเศรษฐกิจ การเพาะเห็ด
        สกุลนางรม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมโครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีสถาบันวิจัยและ
        พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
เฉลิมพงศ์ ดีประเสริฐกุล. 2525. การเปรียบเทียบอาหารที่ใช้วุ้นและคาราจีแนนในการเลี้ยงเส้นใยเห็ด บางชนิด. ปัญหาพิเศษปริญญาตรีภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ชริดา ปุกหุต. 2529. การคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดฟางโดยวิธีเพาะเลี้้ยงสปอร์เดี่ยว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.  นันทินี ศรีจุมปา และเสกสรร สีหวงษ์. 2545. การใช้หญ้าบางชนิดเป็นวัสดุเพาะเห็ดตระกูลนางรม. ว.วิชาการเกษตร 20(1): 3-8. ปัญญา โพธิ์ฐิติรัตน์และ กิตติพงษ์ศิริวานิชกุล. 2537. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. สำนักพิมพ์รั้้วเขียว, กรุงเทพฯ. พงษ์เทพ วิไลพันธ์.2540. จุลชีววิทยาประมง ห้องปฏิบัติการและวิธีการตรวจวิเคราะห์. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. วิฑูรย์ พลาวุฑฒ์. 2527. การทำเชื้้อและการเพาะเชื้้อเห็ด. วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช. ษราวดี รัศมีภูติ. 2544. ผลของอุณหภูมิ pH และแสง ต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี. ปัญหาพิเศษปริญญาตรีภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สำเภา ภัทรเกษวิทย์. 2546. เห็ดเมืองหนาว. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฟันนี่ พับบลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. Brody, J. 1965. Fishery By-Product Technology. The AVI Publishing Company lnc., Westport, Connecticut. ใน พงษ์เทพ วิไลพันธ์. 2540.จุลชีววิทยาประมง ห้องปฏิบัติการและวิธีการตรวจวิเคราะห์. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Chang, S.T. and P.G. Miles. 1989. Edible Mushrooms and Their Cultivation. CRC Press. Boca Raton, Florida.
-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินจากผลการสอบและการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงกิจกรรมในการสอนให้มากขึ้น เช่น ทักษะในการเพาะเห็ดบางชนิดที่ต้องอาศัยปัจจัยประกอบอื่นๆ เป็นต้น
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4