ปัญญาประดิษฐ์

Artificial Intelligence

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการเกี่ยวกับหลักการ และวิธีการแก้ไขปัญหาทางปัญญาประดิษฐ์ และการนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหา
สร้างแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการนำหลักการแก้ไขปัญญาทางปัญญาประดิษฐ์ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง และรู้จัดนำไปประยุกต์ใช้ในการใช้ในการแก้ไขปัญหา
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ วิธีการแก้ปัญหาทางปัญญาประดิษฐ์แบบต่างๆ วิธีการค้นหาคำตอบแบบต่างๆ และวิธีการวางแผนงาน การแทนความรู้ในการแก้ปัญหา การประยุกต์ในด้านต่างๆ ระบบผู้ชำนาญการ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ การพิสูจน์ทฤษฎีบท การควบคุมหุ่นยนต์ และการใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา

พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.1 อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
1.1.2 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
1.1.3 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
ประเมินการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

1.1.3 ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1.1.1 เข้าใจความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการปัญญาประดิษฐ์

ประยุกต์ใช้หลักการปัญญาประดิษฐ์ไปใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ

1.1.3 แสวงหาความรู้แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบของปัญญาประดิษฐ์
2.2.1 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากฝึกปฏิบัติตามใบงาน
2.2.3 ฝึกปฏิบัติค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์
1.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
1.1.2 ประเมินจากการส่งงานที่มอบหมายให้ทำ
1.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์ตามหลักการของปัญญาประดิษฐ์
1.1.2 สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.1.1 จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
1.1.2 จัดทำแบบฝึกหัดตามใบงานเพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทางปัญญาประดิษฐ์
1.1.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ตามแบบรูปแบบของปัญญาประดิษฐ์
1.1.2 วัดผลจากการส่งงานตามกำหนด
สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาด้วยหลักการทางปัญญาประดิษฐ์ กำหนดให้มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมาย

ประเมินตามผลการสอบกลางภาคและปลายภาค   
ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ทางปัญญาประดิษฐ์ เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
5.2.2 จัดทำแบบฝึกหัดเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักการปัญญาประดิษฐ์
ประเมินจากงานที่ส่ง

5.2.2 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9.17 60%
2 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 การนำเสนอโครงงาน การทำแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1,2.1,3.1,4.1 1.1,2.1,3.1,4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 10%
เอกสารประการสอนวิชาปัญญาประดิษฐ์
บุญเจริญ ศิริเนาวกุล, ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence), พิมพ์ครั้งที่ 1, ส้านัก
พิมพ์ท้อป, 2550.
นวลวรรณ  สุนทรภษัช, ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence), พิมพ์ครั้งที่ 3, โรง
พิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
ศศลักษณ์ ทองขาว, ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence), พิมพ์ครั้งที่ 1, ส้านักพิมพ์
ภาพพิมพ์, 2549.
          Wolfgang Ertel, Introduction Artificial Intelligence, Springer-Verlag London
Limited 2011
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- สังเกตการณ์สอน
- ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4