พื้นฐานการออกแบบ

Foundation of Design

. รู้วิธีการนำหลักการพื้นฐานการออกแบบมาใช้ในการออกแบบ 2. เข้าใจวิธีการจัดวางองค์ประกอบสองมิติและสามมิติ 3. เข้าใจวิธีการออกแบบที่ว่างสำหรับพื้นที่ใช้สอยในลักษณะต่างๆ 4. มีทักษะในการออกแบบรูปร่างและรูปทรงที่สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ 5.เห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ มาทำการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ของหลักการพื้นฐานการออกแบบ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอุตสาหกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ หลักการออกแบบเบื้องต้น การจัดองค์ประกอบทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งสองมิติและสามมิติ
ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนวันละ 1 ชั่วโมงรวม 17 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทาง anucha2500@gmail.com และทาง facebook : anucha kaewluang ซึ่งได้แจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เข้าเรียนในสัปดาห์แรก
1.1 ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่น ๆ และมีความซื่อสัตย์ สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น 1.3 ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้ 1.4 ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
1.2.1 ปฏิบ้ติงานตามที่ได้รับมอบหมายและตรงตอ่เวลา   1.2.2 กำหนดงานเพื่อให้ได้แสดงออกในการนำเสนองานทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม และแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน
1.3.1  พิจารณาจากการเข้าชั้นเรียน การทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2 การนำเสนอผลงานทั้งงารกลุ่มและงานเดียว โดยการนำเสนออย่างถูกต้อง 1.3.3 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
2.1.1  หลักพื้นฐานการออกแบบ 2.1.2 หลักการออกแบบ  ขั้นตอนการออกแบบ 2.1.3 คุณค่าของพื้นฐานการออกแบบ
2.2.1  บรรยายและยกตัวอย่างโดยใช้สื่อประกอบ 2.2.2  การทำงานกลุ่มและเดียว นำเสนอผลงาน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้             2.2.3  ศึกษาดูงานนอกสถานที่   2.2.4  นำความรู้ที่ได้รับไปประยกุต์ใช้ในการออกแบบอุตสาหกรรม
2.3.1 สังเกตุพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในการเรียน              2.3.2   ประเมินจากผลงานปฏิบัติและกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย   2.2.3   ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
3.1.1 สร้างสรรค์งานออกแบบอยา่งเป็นระบบและพัฒนาการ                     3.1.2  แก้ปัญหาผลงานพื้นฐานการออกแบบ
3.2.1  บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ          3.2.2  มอบหมายให้ปฏิบัติงานทั้งงานเดียวและงานกลุ่ม 
3.3.1 พฤติกรรมการเรียน การทำงาน และการมีส่วนร่วม           3.3.2  พิจารณาจากการนำเสนอผลงาน          3.3.3  พิจารณาจากผลงาน         3.3.4  ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
4.1.1  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  4.1.2  ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม   4.1.3  ทักษะในการแสดงออกด้านความคิดเห็น
4.4.1  ปฏิบัติงานเดียวและงานกลุ่ม   4.2.2  มอบหมายงานเดียวและงานกลุ่ม             4.2.3  การนำเสนอผลงาน
4.3.1  การประเมินผลจากความร่วมมือเอาใจใสใ่นการปฏิบัติงาน   4.3.2  ประเมินจากการนำเสนองานเดียวและงานกลุ่ม
5.1.1  ทักษะการวิเคราะห์รูปร่างรูปทรง การปรับเปลี่ยนรูปทรง เพื่อใช้ในการออกแบบพื้นฐานการออกแบบ           5.1.2  ทักษะการสืบค้นทางอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ประกอบการออกแบบ           5.1.3  ทักษะการวิเคราะห์ผลงาน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษารูปทรงต่างๆเพื่อใช้ในการออกแบบ   5.2.2  นำเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลมาใช้งาน
5.3.1  ประเมินจากการมีสว่นร่วมในการนำเสนอข้อมูล 5.3.2  ประเมินจากการนำเสนอผลงานการออกแบบ 
6.1.1  มีทักษะสร้างสรรค์งานออกแบบ                      6.1.2  มีทักษะในการออกแบบโดยใช้หลักการพื้นฐานการออกแบบได้
6.2.1  มอบหมายให้คิดสร้างสรรค์งานพื้นฐานการออกแบบ            6.2.2  มอบหมายงานพื้นฐานการออกแบบและผลงานได้ 6.2.3  นำเสนอผลงานการออกแบบได้
6.3.1  ประเมินจากการมีส่วนร่วมของการค้นคว้าข้อมูล 6.3.2  ประเมินจากผลงาน   6.3.3  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID103 พื้นฐานการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3,4,5,9,11,13 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 15% 15%
2 1,2,3,4,5,6,7,9,10,11,12,13,14,15 ปฏิบัติงาน การทำงานผลงานจากงานเดียวและงานกลุ่ม การมีส่วนร่วมในการทำงาน ตลอดภาค ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1,2,3,4,5,6,7,9,10,11,12,13,14,15 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตรงตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
สืบศิริ แซ่ลี้,พงษ์พิพัฒน์ สายทอง พื้นฐานการออกแบบ Basics In Design พิมพ์ที่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2555 ธนภัทร รุ่งธนาภิรมย์ ทฤษฎีความงาม : The Theory of Beauty สำนักพิมพ์ EARN concept 2560 ประเสริฐ พิชยะสุนทร ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ : จุฬาลงกรณ์ 2555 นวลน้อย บุญวงษ์ หลักการออกแบบ กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ : จุฬาลงกรณ์ เลอสม สถาปิตานนท์ การออกแบบเบื้องต้น:INTRODUCTION TO กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ชีเอ็ด ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์ หลักการออกแบบศิลปะ Principles of Design สำนักพิมพ์ : ไวลาย 2553
 
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน 4.1 การให้คะแนนจากผลงานสร้างสรรค์รายสัปดาห์
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ