เนื้อดินปั้น 1

Clay Body 1

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสภาพทางธรณีวิทยาและกระบวนการกำเนิดของดินรวมทั้งแหล่งดิน และการทำเหมืองดิน วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมดิน เครื่องจักรและอุปกรณ์การล้างดินและการเตรียมดิน กระบวนการล้างดิน การเตรียมเนื้อดินปั้นและน้ำดินหล่อ คุณสมบัติทางกายภาพและการทดสอบเนื้อดินปั้น น้ำดินหล่อและเนื้อผลิตภัณฑ์ การบันทึกรายงานผลการทดสอบ การปรับปรุงและพัฒนาเนื้อดิน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสภาพทางธรณีวิทยาของเนื้อดิน กระบวนการล้างดิน เครื่องมืออุปกรณ์การล้างและเตรียมดิน เนื้อดินปั้นและการเตรียมเนื้อดินหล่อ คุณสมบัติทางกายภาพและการทดสอบสมบัติทางกายภาพของเนื้อดิน การจดบันผลการและการรายงานผลการทดสอบเนื้อดิน การปรับปรุงและพัฒนาเนื้อดิน  
เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ หลักการและทักษะการนำเนื้อดินปั้น เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เนื้อดินปั้น 2 การขึ้นรูปด้วยใบมีด แบบและการหล่อ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสภาพทางธรณีวิทยาและกระบวนการกำเนิดของดินรวมทั้งแหล่งดิน และการทำเหมืองดิน วัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมดิน เครื่องจักรและอุปกรณ์การล้างดินและการเตรียมดิน กระบวนการล้างดิน การเตรียมเนื้อดินปั้นและน้ำดินหล่อ คุณสมบัติทางกายภาพและการทดสอบเนื้อดินปั้น น้ำดินหล่อและเนื้อผลิตภัณฑ์ การบันทึกรายงานผลการทดสอบ การปรับปรุงและพัฒนาเนื้อดิน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือทางวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน  ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อกาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  สาธิต ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการปฏิบัติงานทดลองและทดสอบเนื้อดิน
2.3.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานขึ้นรูปชิ้นงานตามขั้นตอน
3.2.2   ให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติงานเตรียมเนื้อดิน
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบ ด้านความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบัติงานเตรียมเนื้อดิน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติการเตรียมเนื้อดิน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ  พฤติกรรมการทำงานความรับผิดชอบในชั้นเรียน
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ให้นักศึกษาปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ โดยผู้สอนสาธิตและนำการปฏิบัติให้ตามใบงานนั้นๆ
ประเมินผลการทำงานตามคำสั่งที่กำหนดให้ ความถูกต้อง ครบถ้วนและความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงานที่ยุ่งยาก ซับซ้อนได้อย่างถูกต้อง และเป็นธรรมชาติ
1 BTECE114 เนื้อดินปั้น 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 2.1 2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค พฤติกรรมในการสอบ 9 และ 17 30%
2 2.2 2.3 3.1 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1 1.2 1.3 4.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. โกมล  รักษ์วงศ์.วัตถุดิบที่ใช้ในเครื่องปั้นดินเผาและเนื้อดินปั้น. นนทบุรี : โรงเรียนมารดานุเคราะห์ (มปป.).
2. ทวี  พรหมพฤกษ์. เครื่องปั้นดินเผาเบื้องต้น.กรุงเทพมหานครฯ : สถาบันราชภัฏพระนคร, 2523.
3. ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิกส์. กรุงเทพมหานครฯ : โอเดียนสโตร์, 2541.
4. วันชัย  เพี้ยมแตง. เอกสารประกอบการสอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผา. มหาวิทยาลัยราช
   มงคลลานนา, มปป.
5. สมถวิล  อุรัสยะนันทน์. เครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานครฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524.
6. ทรงพันธ์  วรรณมาศ. เครื่องปั้นดินเผา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532.
7. ปรีดา  พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2541.   
8. Simpson,Penny / Sodeoka, Kanji. The Janpanese Pottery Handbook. Kadansha
   International Ltd., 1979.
9. Harmer,Frank and Janet. The potter’s Dictionary of Materials and Techniques. 2nd
   London : A&C Black Publishers Ltd, 1986.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์