หลักการเขียนแบบ

Principle of Drafting

1.1 รู้และเข้าใจความหมายและประเภทงานเขียนแบบต่างๆ
    1.2 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ
    1.3 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ในการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง
    1.4 มีทักษะในการเขียนแบบ โดยกำหนดขนาด มาตราส่วน และสัญลักษณ์ในการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง
    1.5 มีทักษะในการเขียนแบบภาพฉาย ภาพตัดและภาพสามมิติ ได้อย่างถูกต้อง
    1.6 เห็นคุณค่าของงานเขียนแบบที่สามารถประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่น และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
 
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นพื้นฐานและเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ การกำหนดขนาดและ มาตราส่วน การใช้เส้นและสัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ ภาพฉาย ภาพตัด ภาพสามมิติ
Study and practice of the drafting equipment, lines and symbols in drafting. Orthographic projection. Perspective, Sections view, Pictorial Drawing.
 
   3.1 อาจารย์ผู้สอน  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน    3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์  
1.1.1    มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น 1.1.3    มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ  
1.2.1 บรรยายและสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านงานเขียนแบบ 1.2.2  ขานชื่อนักศึกษาเมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาของเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 1.2.3  บรรยายสอดแทรกเนื้อหาเรื่องการช่วยเหลือ การแบ่งปัน   
        1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ        1.3.2  การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน        1.3.3  การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือการแบ่งปัน   
2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านงานเขียนแบบอย่างเป็นระบบ 2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านการเขียนแบบ  
2.2.1 บรรยายเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง และยกตัวอย่างประเด็นปัญหาหรือโจทย์ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับงานเขียนแบบ 2.2.2 บรรยาย  ยกตัวอย่าง มาตรฐานในการเขียนแบบในวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง  
2.3.1   การซักถามและการอภิปรายของนักศึกษาในเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหาหรือโจทย์ที่ต้องใช้การแก้ปัญหาในงานเขียนแบบ 2.3.2   สอบกลางภาค สอบปลายภาค  รายงายย่อย  
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้  
3.2.1 บรรยายเกี่ยวกับเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบที่ต้องใช้การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ 3.2.2 บรรยาย ควบคู่กับการปฏิบัติ พร้อม ยกตัวอย่างประกอบในเรื่องเกี่ยวกับการนำหลักการเขียนแบบไปบูรณาการกับงานออกแบบลักษณะอื่นๆ   
3.3.1  ผลงานปฏิบัติ ของนักศึกษาที่ต้องใช้การวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา  3.3.2 การอภิปราย ซักถาม เนื้อหา ควบคู่กับการปฏิบัติ  
4.1.1  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  การบรรยายเนื้อหาและสอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
4.3.1  ประเมินจากความรู้ที่ร่วมกันอภิปราย  พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม  4.3.2  ประเมินจากรายงานกลุ่ม หรือกิจกรรมกลุ่ม ที่มอบหมาย     
         5.1.1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางงานเขียนแบบและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ          5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม  
5.2.1 ให้นักศึกษาฝึกการอ่านเนื้อหาที่เป็นภาษาไทยและอังกฤษ และนำเสนองาน 5.2.2  ให้นักศึกษาฝึกคำนวณตัวเลขหรือค่าสถิติพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับงานเขียนแบบ และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสืบค้นข้อมูล  
5.3.1 พฤติกรรมในการสื่อสาร ฟัง อ่าน พูด และการนำเสนองานด้วยภาษาไทย และอังกฤษ  5.3.2  งานศึกษาค้นคว้าที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์
 
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง  
6.2.1  บรรยายเนื้อ และให้นักศึกษาปฏิบัติงานตามหลักการที่บรรยาย 6.2.2  บรรยายเนื้อหาควบคู่กับการปฏิบัติหรือการสาธิตให้เป็นตัวอย่าง
 
      6.3.1  งานปฏิบัติเขียนแบบของนักศึกษา       6.3.2  งานปฏิบัติเขียนแบบของนักศึกษาและงานศึกษาค้นคว้าเนื้อหา รวมทั้งพฤติกรรมในการศึกษาค้นคว้านอกเวลา  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACC401 หลักการเขียนแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค 9 และ 17 - ร้อยละ 15 - ร้อยละ 15
2 3.1 4.1 5.1 6.1 - การปฏิบัติงานเขียนแบบ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้น - ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - ผลงานปฏิบัติของผู้เรียน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 60
3 1.1 -การเข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจ - ความรับผิดชอบ - การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
กฤษฎา  อินทรสถิตย์. “การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน”. กรุงเทพฯ : เอ็ม เอ เอช พริ้นติ้ง, 2546. ดอกธูป  พุทธมงคล, ชนิด  สุมังคะโยธิน, สมชาย  เกตพันธุ์ และวรินทร์  รอดโพธิ์ทอง. “เขียนแบบเทคนิค”                   ม.ป.ท. : วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี, 2529. ธวัช  ชัยวิศิษฐ์. “เขียนแบบเครื่องกล”. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท. , 2539. ประเวช  มณีกุต. “เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จิตรวัฒน์, 2541. อำนวย  อุดมศรี. “เขียนแบบทั่วไป”. กรุงเทพฯ : สยามสปอร์ต ซินดิเคท, 2537.  
2.1 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เป็นลักษณะ 3 มิติ
2.2 หลักการเขียนแบบเบื้องต้น
เอกสารตัวอย่างรูปแบบงานเขียนแบบชนิดต่างๆ ทั้งในงานออกแบบ งานสถาปัตยกรรม และงานวิศวกรรม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้คือ      1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน     1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย  
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 2.4   การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานเขียนแบบ  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด 3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน  
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน 4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา