วางผังเมือง

City Planning

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจวิวัฒนาการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ องค์ประกอบเมือง ประเภทและรูปแบบของการวางผังเมือง ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมได้ เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะในการฝึกปฏิบัติออกแบบหรือปรับปรุงผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของเมืองและการวางผังเมือง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่ร่วมสร้างสรรค์เมืองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อพัฒนาเนื้อหาของวิชาให้มีความทันสมัย พัฒนาวิธีการและกิจกรรมการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับความเป็นเมืองในสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้ทำการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา 42014411 วางผังเมือง ดังนี้
2.1 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ข้อ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
การเช็คชื่อผ่านProjector เป็นวิธีการที่ดีเพราะนศ.จะเห็นสถานะการเข้าเรียนของตนในภาพรวม
เพิ่มการตักเตือนนศ.ที่เข้าห้องเรียนช้าเสมอ การแต่งกายที่ถูกระเบียบ การไม่ทุจริตในการสอบ
2.2 ด้านความรู้
ข้อ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
พัฒนาสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาตัวอย่างในการบูรณการความรู้กับศาสตร์ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม
2.3 ด้านทักษะทางปัญญา
ข้อ 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
ให้นศ.ได้มีโอกาสปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงในเมืองเชียงใหม่เตรียมกำลังเตรียมเมืองสู่มรดกโลก
ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
(งานด้านการวางผังเมืองต้องคิดเป็นระบบอยู่แล้ว)
2.4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (มอบหมายงานกลุ่ม)
ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
รับโจทย์จริงของสังคมเข้ามาสู่การปฏิบัติของนักศึกษา
2.5 ด้านทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อ 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
(เปิดโอกาสให้นศ.เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างอิสระ)
ศึกษาวิวัฒนาการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ องค์ประกอบเมือง ประเภทและรูปแบบของการวาง ผังเมือง ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฝึกปฏิบัติการออกแบบหรือปรับปรุงผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชน ขนาดเล็ก
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
กำหนดกติกาการเข้าเรียนและการส่งงาน ให้ความสำคัญและสร้างความตระหนักในบทบาทสถาปนิกที่ควรจะมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(1) มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายเนื้อหาตามแผนการสอน อภิปรายประเด็นต่างๆร่วมกัน ปฏิบัติการสำรวจ วิเคราะห์ วางผังพื้นที่ขนาดเล็ก และนำเสนอผลงาน (งานกลุ่ม) โดยบูรณาการสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นในเมืองเชียงใหม่ ข้อกำหนด กฎหมาย และการเตรียมเมืองเชียงใหม่สู่มรดกโลกในการเรียนการสอน รวมทั้งให้นักศึกษาได้ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เมืองขับเคลื่อนอยู่
2.2.2 บรรยายเนื้อหาตามแผนการสอน ซึ่งการวางผังเมืองเป็นงานกายภาพที่ต้องบูรณาการมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครองของเมืองและชุมชนด้วย และให้นักศึกษาฝึกบูรณาการความรู้ด้านการวางผังเมืองเข้ากับศาสตร์ด้านสถาปัตยกรรม
2.3.1 ประเมินจากการสอบทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการสอบทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค ด้วยข้อสอบที่วัดการบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษา กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวางผังพื้นเฉพาะ หรือพื้นที่ขนาดเล็ก เพื่อจะได้ฝึกทักษะและได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ปฏิบัติวิชาชีพหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือชาวบ้าน
3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากงานวางผังพื้นที่เฉพาะ หรือพื้นที่ขนาดเล็กของเมืองหรือชุมชน ที่แสดงผลการประยุกต์ใช้ความรู้ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.3.2 ประเมินจากสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลเมืองหรือชุมชน ที่นำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ฝึกปฏิบัติเป็นงานกลุ่ม
4.2.2 ฝึกปฏิบัติงานเพื่อช่วยเหลือสังคมในสถานการณ์จริง
4.3.1 ประเมินจากบทบาทของนักศึกษาในกลุ่ม และผลสำเร็จของงานแต่ละกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อสังคม
(1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1 ฝึกทักษะสื่อสารในการนำเสนอผลงานปฏิบัติ เลือกใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภาพและหลากหลาย
5.3.1 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42014411 วางผังเมือง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/พฤติกรรมในชั้นเรียน/การส่งงานตรงเวลา 1-18 10%
2 ความรู้ สอบทฤษฎีกลางภาค สอบทฤษฎีปลายภาค 9 18 20 % 20 %
3 ทักษะทางปัญญา การวางผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก 17,18 30 %
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในการทำงานวางผังพื้นที่เฉพาะ หรือชุมชนขนาดเล็ก 10-16 10%
5 ทักษะการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอผลงานวางผังอนุรักษ์และพัฒนาชุมชน 17,18 10 %
กำธร กุลชล , การออกแบบชุมชนเมืองคืออะไร ,เอกสาร 2545. ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง , เมืองยั่งยืนในเชียงใหม่ : แนวคิดและประสบการณ์ของเมืองในหุบเขา , หจก.เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์ เชียงใหม่, 2548. ปรานอม ตันสุขานันท์, การอนุรักษ์ชุมชนเมือง, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2556. พงศ์สีห์ ชุมสาย ณ อยุธยา, มรดกทางผังเมืองแห่งศตวรรษที่ 19, ส.ไพบูลย์การพิมพ์, 2546. วรรณรินทร์ พัฒนะเอก, วิวัฒนาการชุมชนและการผังเมือง, 2548. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร, การปรับปรุงฟื้นฟูเมืองและการอนุรักษ์เมือง, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556. สมชาย เดชะพรหม, ภูมิศาสตร์เมือง, โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา กรุงเทพ, 2522. อัษฎางค์ โปราณานนท์,วิวัฒนาการแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเมือง, 2540. องุ่นทิพย์ ศรีสุวรรณ, การวางผังชุมชนเมืองเบื้องต้น, 2546. Hugh Barton & Catherine Tsourou, Healthy Urban Planning, London, 2000. Kevin Lynch, The Image of the City, The M.I.T. Press, London, 1960.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
htpp://th.wigipedia.org/wiki/ผังเมือง
www.dpt.go.th
www.bma-cpd.go.th
www.thaiplanners.or.th
unesco world heritage sites
http://whc.unesco.org/en/committee/
สอบถามนักศึกษาถึงจุดอ่อน จุดแข็งของรายวิชาและสิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุงขณะสอน แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินการสอน
2.2 ข้อมูลจากมคอ.5 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา
3.1 นำผลการประเมินรายวิชา และการประเมินการสอนมาปรับปรุงในจุดอ่อน
3.2 แก้ปัญหาข้อจำกัดด้านทรัพยากรที่มีเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนของนักศึกษา
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงแผนการสอนทุกปี
5.2 เสนอให้มีการปรับปรุงรายวิชาตามรอบการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี