เคมีอินทรีย์

Organic Chemistry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
    1.1 รู้ประโยชน์และความสำคัญของเคมีอินทรีย์
   1.2 เข้าใจโครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ สารประกอบอะลิฟาติก สารประกอบอะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
2.1 เพื่อให้นักศึกษารู้ประโยชน์และความสำคัญของวิชาเคมีอินทรีย์
2.2 นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.3 เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ ทั้งชนิดสารประกอบอะลิฟาติก สารประกอบอะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ชั้นหนึ่ง ตึกปฏิบัติการกลาง
3.2 e-mail; ynkeereeta@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- กระตุ้นให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับ
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การเข้าสอบ และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยายหน้าชั้นเรียน หรือ online โดยใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม
- การร่วมปภิปราย ตอบข้อซักถาม รวมทั้งการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
- การค้นคว้าและสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการค้นหาข้อมูลจากสื่ออิเลคทรอนิคส์และบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน 
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- การทดสอบเก็บคะแนน และการสอบกลางภาคและปลายภาค
- การถามตอบในห้องเรียน
- ประเมินผลการเรียนรู้จากผลงานที่มอบหมายในระหว่างเรียน เช่น จากการนำเสนอรายงานหน้าชั้น หรือ จากการทำรายงาน
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การค้นคว้าข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำรายงาน โดยมอบหมายให้นักศึกษาทำความเข้าใจกับบทความหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ในรูปแบบภาษาอังกฤษ นำมาเสนอให้เพื่อนร่วมชั้นได้อภิปรายร่วมกัน
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- รายงาน
- การถามตอบในห้องเรียน การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
- การนำเสนองาน และอภิปรายในชั้นเรียน
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาและนำเสนอเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์กับวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- การทำรายงาน นำเสนองาน และอภิปรายในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCCC108 เคมีอินทรีย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 3.2 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9, 18 40%
2 2.1, 3.2 การทดสอบย่อย 6, 15 10%
3 1.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 การนำเสนองาน/รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ปฏิบัติการทดลอง, การบันทึกผลการทดลอง และรายงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 40%
4 1.3, 2.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เกษร พะลัง, เคมีอินทรีย์, พิมพ์ครั้งที่ 1. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
วิลาศ พุ่มพิมล, เคมีอินทรีย์ 1, มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
วิลาศ พุ่มพิมล, เคมีอินทรีย์ขั้นสูง1, พิมพ์ครั้งที่ 1
ประดิษฐ์  มีสุข.  2544.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น.  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยทักษิณ,  สงขลา.
พงษ์ทิพย์ โกเมศโสภาและธนานิธ เสือวรรณศรี, 2534, เคมีอินทรีย์พื้นฐาน, ภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ.
รำไพ  สิริมนกุล.  2546.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
วารุณี  ยงสกุลโรจน์.  2547.  เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.  2548.  เคมีอินทรีย์.  พิมพ์ครั้งที่ 9.  ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
สมพงษ์  จันทร์โพธิ์ศรี, 2552, เคมีอินทรีย์ 1, สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์, กรุงเทพ.
โสภณ  เริงสำราญและคณะ.  2545.  เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
อุดม  ก๊กผล, โสภณ  เริงสำราญ และ อมร  เพชรสม.  2543.  เคมีอินทรีย์ 1 .  พิมพ์ครั้งที่ 7.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
Brow, W.H., Foote, C.S.and  Iverson, B.L. 2005. Organic  Chemistry, 4th . ed,
Thomson  Learning, Belmont
เผด็จ  สิทธิสุนทร และคณะ.  2543.  คู่มือปฏิบัติการเคมีอินทรีย์. พิมพ์ครั้งที่ 2.  จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
วารุณี  ยงสกุลโรจน์.  2547.  ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 .  พิมพ์ครั้งที่ 8.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
วิจิตร  เอื้อประเสริฐและคณะ.  2554.  คู่มือปฏิบัติการเคมีอินทรีย์.  พิมพ์ครั้งที่ 3.  ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ประดิษฐ์  มีสุข.  2544.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น.  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยทักษิณ,  สงขลา.
พงษ์ทิพย์  โกเมศโสภา และธนานิธ   เสือวรรณศรี. 2534.  เคมีอินทรีย์พื้นฐาน.  ยูไนเต็ดบุ๊คส์,  กรุงเทพฯ.
รำไพ  สิริมนกุล.  2546.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ.
โสภณ  เริงสำราญและคณะ.  2545.  เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
สมพงศ์  จันทร์โพธิ์ศรี.  ม.ป.พ.  เคมีอินทรีย์ เล่ม 1.  ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,  กรุงเทพฯ.
สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.  2548.  เคมีอินทรีย์.  พิมพ์ครั้งที่ 9.  ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาตร์มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
อุดม  ก๊กผล, โสภณ  เริงสำราญ และ อมร  เพชรสม.  2543.  เคมีอินทรีย์ 1 .  พิมพ์ครั้งที่ 7.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
กฤษณา ชุติมา, 2539, หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
โครงการตำรา, 2543, สารอินทรีย์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่,
McMurry, J.  2004.  Organic  Chemistry,  6th . ed, Brooks Cole,  California.
Morrison, R.T. and  Boyd,  R.N., 1992. Organic  Chemistry, 6th . ed,Prentice Hall,              New Jersey.
Pine, S.H., 1987. Organic  Chemistry,  5th . ed,   McGraw-hill,  New   York.
Robinson, M.J.T, 2002. Organic  Stereochemistry.  Oxford  University  Press,
New  York.
Solomons, T.W.G. and Fryhle C.B. 2007. Organic  Chemistry,  9th . ed,  John  Wiley 
&  Sons,  New  York.
Sykes, P.  1996. A  Primer  to  Mechanism  inorganic  Chemistry,  Prentice Hall,
New Jersey.
Brow, W.H., Foote, C.S.and  Iverson, B.L. 2005.Organic  Chemistry, 4th . ed, Thomson  Learning, Belmont
McMurry, J.  2004.  Organic  Chemistry,  6th . ed, Brooks Cole,  California.
Morrison, R.T. and  Boyd,  R.N., 1992. Organic  Chemistry, 6th . ed,Prentice Hall,  New Jersey.
Pine, S.H., 1987.Organic  Chemistry,  5th . ed,   McGraw-hill,  New   York.
Robinson, M.J.T, 2002. Organic  Stereochemistry.  Oxford  University  Press,  New  York.
Solomons, T.W.G. and Fryhle C.B. 2007. Organic  Chemistry,  9th . ed,  John  Wiley &  Sons,  New  York.
Sykes, P.  1996. A  Primer  to  Mechanism  Inorganic  Chemistry,  Prentice Hall, New Jersey.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     1.2 การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
     1.3 แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การประชุมกลุ่ม
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5.1 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
     5.3 ปรับปรุงกระบวนวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร