ศิลปะการถ่ายภาพ

The Art of Photography

รายวิชานี้มีจุดประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้ (นําเสนอโดยเทียบเทียงกับผลการเรียนรู้ที่ กําหนดไว้ในหลักสูตร และสัญลักษณ์ที่ใช้มีความหมายดังนี้ ˜ หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก / สัญลักษณ์  หมายถึง ความ รับผิดชอบรอง)  ด้านคุณธรรมจริยธรรม   1. มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม   2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ   3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม   4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์   ด้านความรู้   1. มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา   2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา   3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง   ด้านทักษะทางปัญญา    1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ   2. มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ   4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ   1. มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี  2. มีภาวะความเป็นผู้นํา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3. สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม   ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะตามข้อเสนอแนะจากการจัดการร ียนการสอนในภาคการศึกษา 1 ปีการศึกษา 2559 โดยมีข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการจัดแสดงผลงานนิทรรศการภาพถ่าย 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเบื้องต้นในการถ่ายภาพ ประเภทของงานศิลปะภาพถ่าย การกําหนดแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน ภาพถ่าย ศิลปะในการจัดวางองค์ประกอบในการถ่ายภาพ การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะถ่ายภาพและการนําเสนอผลงานภาพถ่าย
- อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์  - อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ๒ ชั่วโมง / สัปดาห์ โดยระบุ วัน เวลา ไว้ใน ตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม )เฉพาะรายที่ ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า 
1. มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ  3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- บรรยาย, วิทยากรพิเศษ  - ฝึกปฏิบัติ  - มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงานและผลงานรายบุคคล)  - มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน นําเสนอข้อมูล จัดแสดง นิทรรศการภาพถ่าย  - จัดนิทรรศการผลงานภาพถ่าย ตามแนวคิดในหัวข้อด้านศิลปวัฒนธรรม สังคม สิ่งแวดล้อม
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน    - ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กําหนด  - ประเมินจากความรับผิดชอบ การเรีบยเรียงเนื้อหา องค์ความรู้ การจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) 
1.  มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  3.  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยาย, อภิปราย และเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาบรรยายพิเศษ มอบหมายงานบุคคล งานกลุ่ม (ค้นคว้าข้อมูล เพิ่มเติม) 
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการสอบข้อเขียน ประเมินจากการเข้าร่วมโครงการสัมมนาโดยวิทยากรจากภายนอก จากผลงานที่ส่งเข้าร่วมโครงการจัดนิทรรศการภาพถ่าย การทดสอบหลังเรียน การสอบกลางภาคและปลายภาค
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ  2. มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- บรรยาย, อภิปราย และเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาบรรยายพิเศษ มอบหมายงานบุคคลและงานกลุ่ม (ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม) จัดโครงการนิทรรศการภาพถ่ายให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการเข้าร่วมโครงการสัมมนาโดยวิทยากรจากภายนอก จากผลงานที่ส่งเข้าร่วมโครงการนิทรรศการภาพถ่าย   ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กําหนด    แก้ไข
1.  มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี  2.  มีภาวะความเป็นผู้นํา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3.  สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงานและผลงานรายบุคคล) มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน จัดแสดง นิทรรศการภาพถ่าย 
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้า  - มอบหมายงานกลุ่มย่อย นําเสนอข้อมูล (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน จัดแสดง นิทรรศการภาพถ่าย   - ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  - จัดนิทรรศการผลงานภาพถ่าย
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) การนําเสนอข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม การแสดงความคิดเห็นและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ประเมินจากผลงานที่ส่งเข้าร่วมโครงการนิทรรศการจัดแสดงผลงานภาพถ่าย
- ไม่มี
- ไม่มี
- ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นํา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43000001 ศิลปะการถ่ายภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม และจริยธรรม มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จําลอง 1-15 5
2 คุณธรรม จิยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การส่งงานตามเวลาที่กําหนด ความซื่อสัตย์ในการทํางานและการอ้างอิง 2-16 5
3 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9, 17 30
4 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ผลงานรายบุคคล (ผลงานภาพถ่าย) (โครงการจัดแสดงนิทรรศการผลงานภาพถ่าย) 2-16 45
5 สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม ผลงานกลุ่ม (รายงาน) 2-16 10
6 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม โครงการจัดแสดงนิทรรศการผลงานภาพถ่าย การส่งงานตามเวลาที่กําหนด 16 5
E-Book  เอกสารคําสอนรายวิชา 43000001 ศิลปะการถ่ายภาพจาก http://suraphon.rmutl.ac.th/E-.1html  หนังสือเทคนิคการถ่ายภาพทีเกี่ยวข้อง ตําราถ่ายภาพอื่น ๆ
จรรยาบรรณนักถ่ายภาพ กฎหมายลิขสิทธิ์ เอกสาร ตํารา โปรแกรมตกแต่งภาพ Photoshop
 (ดาวน์โหลดและเข้าถึงได้จากเว็บไซต์ของผู้สอน http://suraphon.rmutl.ac.th/E-.1html)   แก้ไข
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้  - ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม  การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน  1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้  - ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ เช่นและการประเมินความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการจัดนิทรรศการถ่ายภาพและบรรยายพิเศษ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดําเนินการดังต่อไปนี้  2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม  2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน (โดยเพื่อนอาจารย์ )ในประเด็ นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน  2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้  ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน  ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน  ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้  3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนําเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ ละคาบการสอน    3.2 ประชุม /สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน    ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา  ผลการศึกษาของนักศึกษา  ผลการประเมินการสอน  บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน     แก้ไข
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้  การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร  การประเมินโดยกรรมการประจําหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายใน / ภายนอก  
  เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม  /ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้ง พิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกําหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษา ต่อไป ทั้งเนื้อหา ลําดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล ปรับปรุงรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป ตามข้อเสนอแนะตามข้อเห็นของนักศึกษา ๑ ดําเนินการทบทวนปรับปรุงรายวิชาในทุก ๕ ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ หรือ ในกรณีที่พบปัญหา มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาในการทํางานจริง ปรับหัวข้องาน ปฏิบัติที่มอบหมาย