เว็บเทคโนโลยี

Web Technology

มื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้ 
- มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานและการให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต  
- มีความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง 
- สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลฝั่งไคลเอนต์และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ 
 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสื่อสารของอินเตอร์เน็ต โครงสร้างการทำงานและการเขียนโปรแกรมของเว็บเซิร์ฟเวอร์ และเว็บไคลแอนท์ การบันทึกข้อมูลผ่านฟอร์ม การเชื่อมต่อกับโปรแกรมบนเซิร์ฟเวอร์ การพัฒนาโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลเพื่อเผยแพร่สารสนเทศ โปรแกรมและเครื่องมือสำหรับการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ และการประยุกต์ในงานสารสนเทศ เป็นนักเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน 
ศึกษาการทำงานและการให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต เข้าใจหลักการทำงานโปรโตคอลเอฟทีทีพี เอฟทีทีพีเอส ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีเวิลด์ไวด์เว็บ การเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผั่งไคลเอนต์และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ การควบคุมสถานะ การติดต่อกับฐานข้อมูล และการพัฒนาเนื้อหาสื่อดิจิตอล The study of mechanism and internet service, understanding in HTTP, HTTPs, practical laboratory on World Wide Web technology, client-side programming, server-side programming, database connection and development of digital contents.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม 
1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3   โทร.  1151 
2  e-mail; morakot@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน 
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
Kai Qian ,  et . al .  Java Web Development Illminated .   2007 Jones  &  Bartlett 
 
David Geary  &  Cay Horstmann Core JavaServer Faces  2008 Prentice Hall 
www.w3schools.com 
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1  การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน 
3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาแบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน 


ผลการสอบ 

การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน 

การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา 

ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 


เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ