การคิดสร้างสรรค์และแนวคิดในการออกแบบ

Creative Thinking and Concept in Design

ศึกษาและฝึกปฏิบัติวิธีการคิดแบบต่างๆ กระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์ การสร้างแนวคิดในการออกแบบ วิธีกลั่นกรองความคิด จากแนวความคิดในระดับนามธรรมไปสู่แนวความคิดในระดับรูปธรรม ที่มีการเรียบเรียงความคิดอย่างเป็นระบบ ฝึกเทคนิคต่างๆในการคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดรูปแบบงานสร้างสรรค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับวิธีการคิดแบบต่างๆ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์ สู่การสร้างแนวความคิดในการออกแบบ ที่สามารถอธิบายได้ มีความหมายและคุณค่าต่อโลกและสังคม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติวิธีการคิดแบบต่างๆ กระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์ การสร้างแนวคิดในการออกแบบ วิธีกลั่นกรองความคิด จากระดับนามธรรมไปสู่ความคิดที่มีการเรียบเรียงอย่างเป็นระบบและมีขอบเขตโครงสร้างที่ชัดเจน ฝึกทักษะคิดสร้างสรรค์ และถ่ายทอดรูปแบบงานสร้างสรรค์
- อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งนักศึกษาให้รับทราบ ชั่วโมงแรกของการเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการออกแบบอย่างยั่งยืนโดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางความคิดสร้างสรรค์และแนวความคิดในการออกแบบ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลงานที่มอบหมาย
ความรู้เกี่ยวกับ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ และแนวความคิดการออกแบบ โดยคำนึงถึงโครงสร้างสังคมไทย สิ่งแวดล้อม และข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาตัวอย่างงาน บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดแบบต่างๆ คิดแบบสร้างสรรค์ คิดเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น การก่อตัวของแนวความคิดในการออกแบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษา ค้นคว้าและคิดแบบการแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการ
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะด้านการคิดแก้ปัญหาที่หลากหลาย และสร้างสรรค์
6.1.2 มีทักษะการคิดเชิงแนวความคิดตามโจทก์ที่หลากหลาย
6.2.1 ฝึกคิดแก้ปัญหาจากโจกทก์ที่หลายหลายที่ผู้สอนกำหนดให้ รวมถึงสถานการณ์จริงที่เป็นปัจจุบัน
6.2.2 ฝึกคิดแนวความคิดในการออกแบบจากโจทก์ที่หลากหลาย ที่ผู้สอนกำหนดให้
6.3.1 ประเมินจากการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาของผู้เรียน และเกณฑ์ในการประเมินที่เหมาะสมกับแต่ละโจทก์
6.3.2 ประเมินจากการนำเสนอแนวความคิดในการออกแบบที่หลายหลาย พร้อมทั้งการอธิบายที่อิงทฤษฏีได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 2 1 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 MAAAC102 การคิดสร้างสรรค์และแนวคิดในการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การอภิปรายกลุ่ม งานปฏิบัติในชั้นเรียน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา 5% 30% 25% 25%
3 1.3.1, 1.3.2,1.3.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2544.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงประยุกต์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2545.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2546.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงอนาคต. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2546.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงสังเคราะห์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2544.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงมโนทัศน์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2545.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2545.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. ลายแทงนักคิด. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2545.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย, 2545.
เกศินี สุทธาวรางกูล. และคณะ. หมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ชานซาลา, 2542.
ฐานิศวร์ เจริญพงศ์. สรรพสาระจากทฤษฎีสถาปัตยกรรมตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
ณัฐพงษ์ เกศมาริษ และธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. แปล. เทคนิคการระดมสมอง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Be Bright Book, 2545.
ดลชัย บุณยะรัตเวช. คมดีไซน์. กรุงเทพฯ : บริษัทเนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด(มหาชน), 2548.
ทัศนา แขมณี. วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์ จำกัด, 2544.
ทวีเดช จิ๋วบาง. ความคิดสร้างสรรค์ศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้น
พีระ จูน้อยสุวรรณ, พื้นฐานความคิดและแนวความคิดในการออกแบบ, เอกสารอัดสำเนา
ติ้ง เฮ้าส์, 2537. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ชานซาลา, 2542.
ธีระ สุมิตร. แปล. รอให้ถึงอนุบาลก็สายเสียแล้ว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน, 2545.
นวลน้อย บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
ปรีชญา สิทธิพันธุ์. เอกสารประกอบการศึกษา. Creative & Critical Thinking. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เอกสารอัดสำเนา, 2544.
เลิศเทวศิริ. Design Education 1. รวมบทความและรายงานการวิจัยศาสตร์แห่งการออกแบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
มาลินี ศรีสุวรรณ , เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบสถาปัตยกรรม , 2540 , มหาวิทยาลัยศิลปากร , มปท.
ยุดา รักไทย และธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. แปล. คิดแนวข้าง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Be Bright Book, 2545.
วิรุณ ตั้งเจริญ. ประวัติศาสตร์และการออกแบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อีแอนด์ไอคิว, 2544.
สมเกียรติ ตั้งนโม. “คุณสมบัติของผู้มีความคิดสร้างสรรค์” (Online). Available :
htpp.//www.geocities.com/midnightuniver/. (วันที่สืบค้น 9 มกราคม 2549)
อารี พันธ์มณี. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา, 2542.
อารี พันธ์มณี. ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ใยไหม เอดดูเคท, 2545.
     
ไม่มี
เว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในการทำรายงาน หรือการศึกษาในแต่ละหัวเรื่อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน