การตรวจสอบงานก่อสร้าง

Inspection for Construction

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบงานก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้าง และความปลอดภัยในการติดตั้ง รื้อถอนอาคาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบงานก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้าง ความปลอดภัยในการติดตั้ง รื้อถอนอาคาร
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบความพร้อมก่อนเริ่มงานก่อสร้าง แบบและแผนการทำงาน ระบบการขนส่งวัสดุ ความปลอดภัยการติดตั้ง รื้อถอน การวางผังอาคาร งานฐานราก งานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก งานคอนกรีตอัดแรง งานเหล็กรูปพรรณ งานสถาปัตยกรรม ระบบสุขาภิบาล ระบบดับเพลิง ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ การเขียนแบบรายละเอียดก่อสร้าง การนำนักศึกษาทัศนศึกษานอกสถานที่
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการตรวจสอบและควบคุมงานก่อสร้าง ให้เป็นไปตามมาตรฐาน และยึดมั่นหลักวิชาการด้านวิศวกรรมโยธาที่กำหนดไว้อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการตรวจและควบคุมงาน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ Wed-board การฉายวิดีโดให้ดู โดยมีวัตถุประสงค์เน้นให้ไม่มีการทุจริต มีความสื่อสัตย์ อภิปรายกลุ่ม

กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
 
มีความรู้ในหลักการ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบความพร้อมก่อนเริ่มงานก่อสร้าง แบบและแผนการทำงาน ระบบการขนส่งวัสดุ ความปลอดภัยการติดตั้ง รื้อถอน การวางผังอาคาร งานฐานราก งานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก งานคอนกรีตอัดแรง งานเหล็กรูปพรรณ งานสถาปัตยกรรม ระบบสุขาภิบาล ระบบดับเพลิง ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ การเขียนแบบรายละเอียดก่อสร้าง
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สามารถนำความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญของการตรวจสอบงานก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างและการรื้อถอนอาคาร เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.1 มอบหมายงานให้ทำและค้นคว้าเพิ่มเติม
3.2.2 มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกการตรวจสอบ และควบคุมงานก่อสร้าง
3.2.3 สอบถามความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่ได้สอนนักศึกษา
3.2.4 อภิปรายกลุ่ม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น วิธีการตรวจสอบและควบคุมงานก่อสร้าง กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง จรรยาบรรณ และคุณธรรมของการตรวจสอบและควบคุมงานก่อสร้าง หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการการสืบหาข้อมูล หรือสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
นักศึกษาได้ฝึกปฎิบัติทำให้มีทักษัความรู้ความชำนาญ
กำหนดงานให้นักศึกษาได้ฝึกปฎิบัติในแต่ละสัปดาห์
ทำการสอบวัดผล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.3, 2.1, 2.2 – 2.3, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 30% 30%
2 1.1-1.3,2.1-2.3 3.2,4.1 – 4.3,5.1-5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปผลการศึกษาดูงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1 – 1.3 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง(Construction Control Technique) โดย ณรงค์ กระจ่ายยศ
1.2 คู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคาร เพื่อความปลอดภัย วสท.
1.3 การตรวจรับบ้านก่อนโอน แบบผู้ไม่รู้ โดยวิญญู วานิชศิริโรจน์
1.4 อรุณ ชัยเสรี. การวิบัติของอาคาร สาเหตุและการแก้ไข.วิศวกรรมสถานแห่งประเทสไทย:กรุงเทพ 2543.
1.5 อรุณ ชัยเสรี. มาตรฐานสำหรับอาคารวัสดุก่อสร้าง.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย:กรุงเทพ .
1.6 อรุณ ชัยเสรี , ชัย มุกตพันธ์. คู่มือการตรวจสอบคอนกรีต 15085 .วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.
1.7 อรุณ ชัยเสรี.อันตรายจากการก่อสร้างและวิธีป้องกัน.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.
1.8 มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับงานก่อสร้างอาคาร.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.2526
 
2.1 รายการตรวจสอบงานก่อสร้าง. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ : กรุงเทพ 2526.
2.2 วีระศักดิ์ กรัยวิเชียร. เครื่องจักรกลงานก่อสร้าง .บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน). : กรุงเทพ 2541.
2.3 อรุณ ชัยเสรี. การวิบัติของอาคาร สาเหตุและการแก้ไข.วิศวกรรมสถานแห่งประเทสไทย:กรุงเทพ 2543.
2.4 อรุณ ชัยเสรี. มาตรฐานสำหรับอาคารวัสดุก่อสร้าง.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย:กรุงเทพ .
2.5 อรุณ ชัยเสรี , ชัย มุกตพันธ์. คู่มือการตรวจสอบคอนกรีต 15085 .วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.
2.6 อรุณ ชัยเสรี.อันตรายจากการก่อสร้างและวิธีป้องกัน.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.
2.7 มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับงานก่อสร้างอาคาร.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.2526.
 
 
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
3.1 อรุณ ชัยเสรี. การวิบัติของอาคาร สาเหตุและการแก้ไข.วิศวกรรมสถานแห่งประเทสไทย:กรุงเทพ 2543.
3.2 อรุณ ชัยเสรี. มาตรฐานสำหรับอาคารวัสดุก่อสร้าง.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย:กรุงเทพ .
3.3 อรุณ ชัยเสรี , ชัย มุกตพันธ์. คู่มือการตรวจสอบคอนกรีต 15085 .วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.
3.4 อรุณ ชัยเสรี.อันตรายจากการก่อสร้างและวิธีป้องกัน.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.
3.5 มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับงานก่อสร้างอาคาร.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ:กรุงเทพ.2526
3.6 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
   
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอก
ห้องเรียน สิ่งสนับสนุน การเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และ
เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน
ประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบ
หมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มี
การประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนัก
ศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์
ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน
และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการ
ของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิด
เห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป