ภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม

English for Hotel

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจโรงแรมตามสถานการณ์ต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการสื่อสารภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจโรงแรมในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านธุรกิจโรงแรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
การเรียนรู้ศัพท์ สำนวน และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจโรงแรม เช่น การต้อนรับ การบริการลูกค้า การประชาสัมพันธ์ การขาย และการตลาด
 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ข้อ 1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ข้อ 2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
ข้อ 3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา
และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ข้อ 4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีเป็นมนุษย์
 
1. ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1 การเข้าเรียนตรงเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
2 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจด้านทฤษฎี เข้าใจลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนิน
กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรม
ข้อ 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
ข้อ 3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ด้านปฏิบัติ สามารถใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรม ได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสม และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากลและสามารถบูรณาการความรู้ทีได้ศึกษาฃ
กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 4) สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจด้านทฤษฎี เข้าใจลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนิน
กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรม
 
 
 
1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ
1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2 การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน
3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
ข้อ 1 ) พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพ
ศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการดำเนินกิจกรรม
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรม
ข้อ 2 ) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ข้อ 3 ) มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และ
วัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะสม
1 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรม
2 ให้นักศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรม
1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3 การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
1 ) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีทั้งระหว่างบุคคลในวัฒนธรรมเดียวกันและต่างวัฒนธรรม
ข้อ 2 ) มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
ข้อ 3 )สามารถในการทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่สำคัญ
1 สอดแทรกเนื้อหาในรายวิชาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและมารยาทสากลในการสื่อสาร
2 ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรมในสถานการณ์สมมติในบริบทต่าง ๆ
1 สังเกตพฤติกรรมในระหว่างการฝึกปฏิบัติ/การทำกิจกรรม
2 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่กำหนด
1 ) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2 ) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3 )ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร รวมถึงการใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
 
 
ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโรงแรมในสถานการณ์สมมติในบริบทต่าง ๆ
1 การทดสอบความรู้ในการสอบกลางภาคและปลายภาค
2 การฝึกปฏิบัติระหว่างเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 13031045 ภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 4.1 การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.3, 3.1, 3.3 ทดสอบย่อย และงานมอบหมายในและนอกห้องเรียน 4, 6, 8, 11, 13, 5, 16 30%
3 4.3, 5.3 ทดสอบทักษะการใช้ภาษาในการสื่อสารในธุรกิจโรงแรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1, 2.3, 3.1, 3.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 25%, 25%
Stott, Trish and Pohl, Alison. English for the Hotel and Catering Industry.
Oxford University Press, 2014.
Evans, Dooley and Garza. Hotels & Catering. Express Publishing, 2018.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา รวมถึงข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนในด้านเนื้อหาและรูปแบบของกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล และการให้การเรียนได้มีส่วนร่วมในเนื้อหาของรายวิชามากขึ้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4