การควบคุมงานภูมิทัศน์

Construction Inspection for Landscape

1. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการงานควบคุมงานภูมิทัศน์ 2. เข้าใจขอบข่ายของงานการควบคุมงานภูมิทัศน์ 3. รู้วิธีการบริหารงานภูมิทัศน์ 4. รู้วิธีขั้นตอนการก่อสร้าง 5. รู้วิธีการทักษะในการควบคุมงานภูมิทัศน์ 6. รู้จักความสำคัญในการควบคุมงานภูมิทัศน์ 7. เข้าใจหลักการวางแผนควบคุมงานภูมิทัศน์ 8. เข้าใจการรู้ความหมายและความสำคัญของการควบคุมงาน
ศึกษาศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ขั้นตอนการสร้างงานภูมิทัศน์ การตรวจสอบปริมาณและคุณภาพวัสดุให้ตรงตามแบบและรายการประกอบแบบ การตรวจและควบคุมเทคนิคการก่อสร้าง รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆ ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้าง รวมทั้งการทำแผนปฏิบัติงานและการรายงานและสรุปผลการปฏิบัติงาน
ศึกษาศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ขั้นตอนการสร้างงานภูมิทัศน์ การตรวจสอบปริมาณและคุณภาพวัสดุให้ตรงตามแบบและรายการประกอบแบบ การตรวจและควบคุมเทคนิคการก่อสร้าง รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆ ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้าง รวมทั้งการทำแผนปฏิบัติงานและการรายงานและสรุปผลการปฏิบัติงาน
2ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่าประสบการณ์กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
1.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกายตรงต่อเวลามรรยาทในสังคม)
2.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม)
3.ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะในการสื่อสาร)
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่าประสบการณ์กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.อภิปรายกลุ่ม
6.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
1.ทดสอบย่อย
2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่าประสบการณ์กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
1.ทดสอบย่อย
2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
1.กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ
3.ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่าประสบการณ์กรณีศึกษา
4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
1.ทดสอบย่อย
2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
3.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
ปฏิบัติภาคสนาม
1.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
2.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1
1 21042218 การควบคุมงานภูมิทัศน์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 5%
2 การนำเสนองาน/การรายงาน/ภาคปฏิบัติ 95%
รายการตรวจสอบงานก่อสร้าง สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีนาคม 2548
ใบความรู้แต่ละสัปดาห์
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนโดยนักศึกษาและแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.   จำนวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบ และการสังเกตพฤติกรรม
2.   คำถาม หรือแบบทดสอบ ผลการเรียนรู้ ทั้งห้าด้าน
3.       แบบประเมินผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทำการปรับปรุงการสอนทุกปีการศึกษาโดยพิจารณาจากผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียนและผลประเมินการสอนและปัจจัยอื่นๆต่อไปนี้

ผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน ผลประเมินการสอน และแบบสอบถามความสนใจในชั้นเรียน

ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ (Current issue & selected topics)
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษาอาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียนการสอนทวนสอบทั้งกระบวนการผลลัพธ์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่าผลประเมินประสิทธิผลของรายวิชาผลประเมินการสอนนั้นน่าเชื่อถือการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษาดำเนินการทุกครั้งที่มีการเรียนการสอนรายวิชาเช่น

ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัยได้แก่การเข้าเรียนและการสังเกตพฤติกรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้วโดยผู้ร่วมสอนอื่นหรือผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา (Cross & Link check) ผู้ร่วมสอนและร่วมรับผิดชอบรายวิชามีส่วนในการประเมินย่อยเช่น การออกข้อสอบร่วมและร่วมประเมินผลการเรียน

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมเป็นต้น
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอนดำเนินการทุกปีการศึกษาอาศัยกระบวนการในมคอ.1มคอ.2และมคอ.3โดยเฉพาะผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อ1) ผลประเมินการสอน(ข้อ2) การปรับปรุงการสอน (ข้อ3) และการทวนสอบมาตรฐานผลสำฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา (ข้อ4)

การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยหลักสูตรคณะและระดับสถาบัน (มหาวิทยาลัย)สอดคล้องกับนโยบายปรัชญาวิสัยทัศน์พันธกิจและการประกันคุณภาพฯ