การสัมมนาภาษาอังกฤษ

Seminar in English

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในหัวข้อที่สนใจและเป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วม แล้วนำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของการสัมมนา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านภาษาในการสัมมนาเชิงวิชาการ ฝึกการใช้สำนวนภาษาอังกฤษเพื่อนำไปประยุกต์ใช้การนำเสนอผลงาน และการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
ศึกษาและฝกปฏิบัติ คนควา รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูลใน หัวขอที่สนใจ สรุปและนําเสนอในรูปแบบของการสัมมนาตลอดจน การจัดสัมมนา  Study and practice  paper presentation, and conducting  an English seminar, including researching for specific  topics, collecting, analyzing, and summarizing data,  presenting at a seminar, as well as organizing a seminar
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอตนเอง
สังคมสวนรวม และสิ่งแวดลอม
1.1.4 มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีม และสามารถแกไขขอขัดแยงได
1.1.5 มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้ง
เคารพในคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย
1.2.1 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อสงเสริมใหนักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนัก ในคุณคาของคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
1.2.3 สรางวัฒนธรรมองคกรเพื่อปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบ
ตอตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทํางานกลุม รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และปลูกฝงจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม
1.2.4 สงเสริมใหนักศึกษาเคารพในคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย รูหนาที่ ของการเปนผูนําและการเปนสมาชิกของกลุม ยกยองและเชิดชูผูที่ทําความดีและเสียสละ
1.3.1 การเขารวมกิจกรรมในรายวิชาที่สงเสริมใหนักศึกษามีจิตสาธารณะ และ ตระหนักในคุณคาของคุณธรรม จริยธรรม
1.3.2 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน การสงงานตามกําหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเขารวมกิจกรรม
1.3.3 การสังเกตพฤติกรรมในการทํางานเปนกลุม
2.1.3 มีความรูและเขาใจในสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัดการปฏิบัติการ
การควบคุมและผลการดําเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานใหสอดคลองกับสถานการณที่หลากหลาย
2.1.4 มีความรูเกี่ยวกับความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งมีความเขาใจในสถานการณที่
เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
2.1.7 รู เขาใจ และสนใจที่จะพัฒนาความรู ความชํานาญในการใชภาษาอยางตอเนื่อง
2.2.1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2.2.2 จัดใหมีการเรียนรูจากสถานการณจริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผูเชี่ยวชาญมาเปน
วิทยากรใหความรู
2.2.3 จัดกิจกรรมใหนักศึกษาไดประยุกตใชความรูในการฝกปฏิบัติ ในสภาพแวดลอมจริง
2.2.4 มอบหมายงานใหศึกษาคนควาเพิ่มเติม นําเสนอ และถายทอดความรูแกเพื่อน รวมชั้นเรียนหรือผูสนใจทั่วไป
 
2.3.1 การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2 รายงานสรุปองคความรูที่ไดจากการเขารวมกิจกรรมหรือการนําความรูไป ประยุกตใช
2.3.3 ผลการฝกปฏิบัติในสภาพแวดลอมจริง
2.3.4 ผลงานจากการคนควาและการนําเสนอ
3.1.1 สามารถสืบคน ตีความ วิเคราะหขอมูล และประเมินขอมูลจากหลายแหลง เพื่อใชในการแก
ปญหาอยางสรางสรรค ตามสถานการณอยางเหมาะสม
3.1.3 สามารถคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนระบบ สรางสรรคและมีเหตุผล สามารถ บูรณาการความรูและประสบการณ มาใชในการพัฒนาตนเองและสังคม
3.1.4 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห และสรุปประเด็นปญหา และความตองการได้
3.2.1 จัดกิจกรรมที่สงเสริมการคิดวิเคราะหและทักษะการแกไขปญหาอยาง เปนระบบ
3.2.2 จัดกิจกรรมใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติผานทางบทบาทสมมุติในสถานการณจําลอง
3.2.3 จัดใหนักศึกษาไดฝกประสบการณในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทํางาน
3.3.1การใชภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณจําลอง
3.3.2 การเลือกใชภาษาเพื่อคิดวิเคราะห แกไขปญหาและสื่อสารในบริบทตางๆ
3.3.3 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
4.1.1 มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับฟงและเคารพความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งสามารถแกไขขอขัดแยงไดอยางเหมาะสม
4.1.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นไดอยาง สรางสรรค
เอื้อตอการแกไขปญหาของทีม
4.1.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหนาที่และความ รับผิดชอบพรอมทั้งใหความชวยเหลือและอํานวยความสะดวกตอเพื่อนรวมงานในการแกปญหาสถานการณ ตางๆ ทั้งในบทบาทของผูนํา และในบทบาทของผูรวมทีมทํางาน
4.1.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศกับกลุมคนหลากหลาย ไดอยางมีประสิทธิภาพ
4.1.6 มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุม
4.1.7 สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตัวและสวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม
4.2.1 สอดแทรกความรูเกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธและมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมตางๆ ในเนื้อหารายวิชา
4.2.2 จัดใหนักศึกษาไดทํากิจกรรมเปนกลุม โดยเปลี่ยนบทบาทใหมีโอกาสเปนทั้งผูนํา และผูตาม
4.2.3 จัดใหนักศึกษาไดทํากิจกรรมที่สงเสริมทักษะการแกปญหาอยางเปนระบบและการอภิปรายเพื่อหาขอสรุป
4.2.4 มอบหมายใหนักศึกษาไดเขารวมในการบริการวิชาการแกสังคมรวมกับอาจารย และผูเกี่ยวของ
4.3.1 การทดสอบยอย กลางภาคและปลายภาค
4.3.2 การสังเกตพฤติกรรมการทํากิจกรรมกลุมของนักศึกษา
4.3.3 การสังเกตพฤติกรรมการทํางานเปนทีมของนักศึกษา
4.3.4 การสังเกตพฤติกรรมและการประเมินการใหบริการวิชาการของนักศึกษา
5.1.2 สามารถอธิบายและสรางความเขาใจ โดยใชรูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีไดอยางถูกตอง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนําเสนอดวยวาจาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสรางสรรค
5.1.4 มีทักษะการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันตอการทํางานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 สอดแทรกความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารการคนควา
ขอมูล และการนําเสนอผลงาน
5.2.2 ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากหัวข้อที่ศึกษา
5.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย และในการนำเสนองาน
5.3.1 ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6.1.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางใน
การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจน พัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.1.4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
6.2.1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน 6.2.2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
6.2.3 สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน ฝึกงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษา
6.3.1 งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา
6.3.2 พฤติกรรมและความสามารถในการใชภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณตางๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 BOAEC111 การสัมมนาภาษาอังกฤษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.3, 2.2.4, 2.2.7, 4.1.5 สอบกลางภาค 8 15
2 2.2.3, 2.2.4, 2.2.7, 4.1.5 สอบปลายภาค 17 15
3 3.1.1, 3.1.3, 3.1.4, 4.1.6, 4.1.7, 5.1.2, 5.1.4 แบบฝึกหัด / กิจกรรม / งานมอบหมาย งานนำเสนออภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 30
4 3.1.1, 3.1.3, 3.1.4, 4.1.6, 4.1.7, 5.1.2, 5.1.4 โครงการสัมมนาวิชาการภาษาอังกฤษ 14 30
5 1.1.2, 1.1.4, 1.1.5, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงตามกำหนด ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกันเป็นทีม ตลอดภาคการศึกษา 10
เอกสารประกอบการสอนวิชาการสัมมนาภาษาอังกฤษ
เอกสารประกอบการสอนวิชาการสัมมนาภาษาอังกฤษ
Dale, P. & Wolf, J. C. 2006. Speech Communication Made Simple. New York: Pearson Longman. Harrington, David and Charles Le Beau. 2009. Speaking of Speech (Basic Presentation Skills for Beginners) Student Book. New Edition. Macmillan. Richards, Jack C. with Jonathan Hull and Susan Proctor. 1991. New Interchange (English for International Communications. Cambridge University Press.

4. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
• การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
• ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
• การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
• การประเมินตนเองเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านกิจกรรมการจัดโครงการสัมมนา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
• สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
• สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
• ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
• ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
• ประเมินการฝึกปฏิบัติการนำเสนองานอภิปรายงานวิจัยที่ได้มี หาข้อมูล วิเคราะห์และสรุป
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
• ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียนทุกปี
• สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์