สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา

Lanna Vernacular Architecture

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจรูปแบบ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในภาคต่างๆ ของไทย โดยเน้นสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝีกหัดค้นคว้า เรียนรู้และวิเคราะห์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่เกิดขึ้นจากค่านิยมทางวัฒนธรรมแบบแผนประเพณี คติความเชื่อ วัสดุก่อสร้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อม
3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความสำนึกในคุณค่าของงานออกแบบระดับพื้นถิ่นของไทยที่มีคุณค่าต่อการดำรงชีวิต ทั้งในครัวเรือนและในชุมชน
4. เพื่อให้นักศึกษาฝึกหัดปฏิบัติการสำรวจ เขียนแบบ และวิจัยงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในเบื้องต้น
1. พัฒนา/ปรับปรุงเนื้อหาและการแบ่งหน่วยให้เหมาะสม
2. เตรียมการเพื่อจัดทำสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนาประเภทบ้านเรือน ชุมชนและวัดพื้นถิ่น ด้านรูปแบบ คติการสร้าง วัสดุ โครงสร้างและเทคนิคการก่อสร้าง เปรียบเทียบกับวัฒนธรรมข้างเคียง มีทัศนศึกษา
Study and practice of vernacular architecture, houses, community, temples and thoes in Lanna terms of basic structure, beliefs, materials and building techniques, compared to cultures nearby, including study visits.
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เฉพาะรายที่ต้องการ
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 เช็คชื่อเข้าเรียน และอบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรมแก่นักศึกษาก่อนการเรียนสอน เป็นเวลา 5 นาทีทุกสัปดาห์
1.2.2 จัดให้นักศึกษาส่งงานปฏิบัติรายสัปดาห์ (งานเดี่ยว) และนำเสนองานค้นคว้า (งานกลุ่ม) ตามเวลาที่กำหนด
การเข้าชั้นเรียนและการทำงานกลุ่ม /ประเมินทุกสัปดาห์ /สัดส่วนของการประเมินผล 10%
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายประกอบสื่อผสม โดยอาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก (ถ้ามี)
2.2.2 ให้นำเสนอรายงานการค้นคว้า
การสอบกลางภาค - ปลายภาค และการทำรายงาน /ประเมินสัปดาห์ที่ 9 และ16-18 /สัดส่วนของการประเมินผล 30%
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายประกอบสื่อผสม
3.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอแนวคิดวิเคราะห์
3.2.3 สะท้อนแนวคิดทางปรัชญาจากการอภิปรายกลุ่ม
การสอบกลางภาค - ปลายภาค และการทำรายงาน /ประเมินสัปดาห์ที่ 9 และ16-18 /สัดส่วนของการประเมินผล 30%
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานกลุ่ม
4.2.2 ให้อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
งานกลุ่ม /การนำเสนองานปฏิบัติ (presentation) /ประเมินสัปดาห์ที่16-17 /สัดส่วนของการประเมินผล 10%
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
 
5.2.1 บรรยายให้คำแนะนำและอภิปราย
5.2.2 ให้นำเสนองานปฏิบัติโดยใช้ภาษาและรูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
งานกลุ่ม /การนำเสนองานปฏิบัติ (measuring/Survey/model) /ประเมินสัปดาห์ที่16-17 /สัดส่วนของการประเมินผล 10%
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
 
6.2.1 บรรยายให้คำแนะนำและอภิปราย
6.2.2 แบ่งกลุ่ม และมอบหมายงานปฏิบัติ (งานกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 5 คน)
6.2.3  แจกใบงาน และมอบหมายงานปฏิบัติ (งานเดี่ยว)
งานเดี่ยว /งานปฏิบัติเขียนแบบ (drawing /sketching) /ประเมินทุกสัปดาห์ /สัดส่วนของการประเมินผล 10%
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT204 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/การทำงานกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 10%
2 ด้านความรู้ การสอบกลางภาค/ปลายภาค และการทำรายงาน สัปดาห์ที่ 9/16-18 30%
3 ด้านทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค/ปลายภาค และการทำรายงาน สัปดาห์ที่ 9/16-18 30%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ งานกลุ่ม /การนำเสนองานปฏิบัติ (presentation) สัปดาห์ที่ 16-17 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ งานกลุ่ม /การนำเสนองานปฏิบัติ (measuring/Survey/model) สัปดาห์ที่ 16-17 10%
6 ทักษะพิสัย งานเดี่ยว /งานปฏิบัติเขียนแบบ (drawing /sketching) ทุกสัปดาห์ 10%
เวบไซด์รายวิชา http://suebpong.rmutl.ac.th
E-Book เรื่อง “สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น” โดย สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี
1. รศ.เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, 2537.
2. น.ณ ปากน้ำ, แบบแผนบ้านเรือนในสยาม, กรุงเทพฯ, 2548 (พิมพ์ครั้งที่ 5).
3. ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง, ภูมิปัญญาล้านนา, กรุงเทพฯ, 2544 (พิมพ์ครั้งที่ 2).
4. บุรีรัตน์ สามัตถะ, ภาคใต้หนังสือชุด"รู้เรื่องเมืองไทย", กรุงเทพฯ, 2545.
5. รศ.อรศิริ ปาณินท์, หมู่บ้านลอยน้ำของไทย, วารสารประกอบการประชุมวิชาการสถาปัตยปาฐะ 45, กรุงเทพฯ, 2545.
6. รศ.อรศิริ ปาณินท์, ปัญญาสร้างสรรค์ในเรือนพื้นถิ่นอุษาคเนย์, กรุงเทพฯ, 2543.
7. รศ.อรศิริ ปาณินท์, เรือนพื้นบ้านไทย-มอญ, วารสารหน้าจั่ว ฉบับที่ 16 ประจำปีการศึกษา 2541-42, กรุงเทพฯ, 2543.
8. รศ.อรศิริ ปาณินท์, บ้านและหมู่บ้านพื้นถิ่น, กรุงเทพฯ, 2539 (พิมพ์ครั้งที่ 2).
9. รศ.อนุวิทย์ เจริญศุภกุล รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์, เรือนล้านนาไทยและประเพณีการปลูกเรือน, กรุงเทพฯ, 2539.
10. ศ.อัน นิมมานเหมินทร์, วาระครบหกรอบของ ศ.อัน นิมมานเหมินทร์, กรุงเทพฯ, 2532
11. รศ.วิโรฒ ศรีสุโร, สิมอีสาน, กรุงเทพฯ, 2536.
12. รศ.อนุวิทย์ เจริญศุภกุล, จุดเด่นในงานสถาปัตยกรรมอีสาน, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องสถาปัตยกรรมอีสาน, ขอนแก่น, 2530.
13. สุวิทย์ จิระมณี, ประเพณีคติความเชื่อมีอิทธิพลต่อสถาปัตยกรรมอีสาน, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องสถาปัตยกรรมอีสาน, ขอนแก่น, 2530.
14. รศ.ฤทัย ใจจงรัก, เรือนไทยเดิม, กรุงเทพฯ, 2543. (พิมพ์ครั้งที่ 3)
15. สุพล ปวราจารย์, เรือนชาวเขา, เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ"ความหลากหลายของเรือนพื้นถิ่นไทย", คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ, 2543.
16. รศ.สมคิด จิระทัศนกุล, เรือนล้านนา, เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ"ความหลากหลายของเรือนพื้นถิ่นไทย", คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ, 2543.
17. วนิดา พึ่งสุนทร, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นภาคใต้, เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ"ความหลากหลายของเรือนพื้นถิ่นไทย", คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ, 2543.
18. เสาวลักษณ์ พงษธา โปษยนันท์, เรือนชาวเล, เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ"ความหลากหลายของเรือนพื้นถิ่นไทย", คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ, 2543.
19. สมภพ ภิรมย์ วิวัฒน์ เตมียพันธ์ เขตรัตนจรณะ วิโรฒ ศรีสุโร, บ้านไทย, กรุงเทพฯ, 2538.
20. ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม, เรือนไทย บ้านไทย, กรุงเทพฯ, 2543.
รายงานวิจัย
1. ดร.กาญจน์ นทีวุฒิกุล และคณะ,  โครงการศึกษาแบบบ้านเคหะชนบทแบบบูรณาการ ภาคเหนือ, รายงานวิจัย การเคหะแห่งชาติ, 2553
2. สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี และคณะ, การศึกษารูปแบบและวิธีการจัดทำชุดความรู้เรื่องที่อยู่อาศัย กรณีศึกษา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, รายงานวิจัย การเคหะแห่งชาติ, 2555
3. สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี และคณะ, การศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู้เรื่องที่อยู่อาศัย และวิถีการอยู่อาศัยผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น พื้นที่ภาคเหนือ, รายงานวิจัย การเคหะแห่งชาติ, 2556
4. อัมเรศ เทพมา และคณะ, วิถีแห่ง เฮือนไต ในมณฑลวัฒนธรรมสองฝั่งโขง, รายงานวิจัย สกว., 2557
5. สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี และคณะ, การศึกษาทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ของชุมชนลุ่มน้ำโขง, รายงานวิจัย สกว., 2558
- สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย
- แบบประเมินผลให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นการสอนปลายภาคในระบบของ สวท.
ประชุมอาจารย์ผู้สอนระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
ใช้ผลการประเมินโดยนักศึกษา และการประเมินโดยทีมผู้สอน เป็นเครื่องมือปรับปรุงการสอนเป็นประจำทุกปีการศึกษา
-  มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
-  มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
-  แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และมคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป