เทคนิคแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม

Architectural Presentation Techniques

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการสื่อสารเชิงเรขนิเทศ การใช้วัสดุและเทคนิคการนำเสนอผลงานทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ สามารถตกแต่งแบบผังบริเวณแปลน รูปด้าน รูปตัด ทัศนียภาพและการจัดหุ่นจำลองเพื่อใช้ในงานแสดงแบบทางสถาปัตยกรรมได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจทักษะเกี่ยวกับการสื่อสารเชิงเรขนิเทศ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสื่อสารเชิงเรขนิเทศ การใช้วัสดุและเทคนิคการนำเสนอผลงานทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ การตกแต่งแบบผังบริเวณแปลน รูปด้าน รูปตัด ทัศนียภาพและการจัดทำหุ่นจำลอง
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาชีพ ในรายวิชาสอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอนและประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
มีความรู้ และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน โดยมุ่งเน้นทั้งหลักสูตรทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
2.3.1   การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2   งานที่ได้รับมอบหมาย
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติของนักศึกษา
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2.1  สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.2.2  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3  มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.2.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 
4.3.1  ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.3.2  ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
สร้างกิจกรรม Active Learning /Flipped Classroom ที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแผนและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ใช้วิธีการสอนด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษาสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARCC402 เทคนิคแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอนและประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 ความรู้ - ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์ - วัดผลและให้คะแนนจากการส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 ทักษะทางปัญญา - วัดผลจาก งานสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นปฏิบัติในการเขียนภาพตามโจทย์ที่กำหนดให้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9, 18 ตลอดภาคการศึกษา 25%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน - ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย ปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องมือในการออกแบบและ ใช้อุปกรณ์เครื่องมือในการปฏิบัติงานได้ ตลอดภาคการศึกษา 50%
      โกศล พิณกุล. 2546 ภาพเส้นระบายสี LINE AND WASH
      โกศล พิณกุล 2546 เทคนิคระบายสี ดอกไม้ หุ่นนิ่ง ทิวทัศน์
      รศ.สุชาติ เถาททอง 2536 การเขียนภาพสีน้ำ
      นิติพงศ์ ใจประสาน 2543 จิตรกรรมสีน้ำ
      นิวัติ หะนนท์ 2532 การเขียนสีน้ำ
      วิศิษฐ พิมพิมล 2546 การวาดเส้น DRAWING
     ศุภพงศ์ ยืนยง 2547 หลักการเขียนภาพ
-
              เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ