หลักสัทศาสตร์และสรศาสตร์เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ

Essential English Phonetics and Phonology for Communication

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การออกเสียง และฝึกออกเสียงสระและพยัญชนะภาษาอังกฤษ การลงเสียงหนักเบาในคำและประโยค การใช้ทำนองเสียงเพื่อสื่อความหมาย การประยุกต์ใช้เพื่อการสื่อสารในบริบทต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเรื่องกระบวนการผลิตเสียงพูด สรีระที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียงและการเปล่งเสียงพูดตลอดจนการออกเสียงอย่างถูกต้อง
กฎเกณฑ์การออกเสียง และฝึกออกเสียงสระและพยัญชนะภาษาอังกฤษ การลงเสียงหนักเบาในคำและประโยค การใช้ทำนองเสียงเพื่อสื่อความหมาย การประยุกต์ใช้เพื่อการสื่อสารในบริบทต่างๆ ที่จำเป็นต่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย รู้จักจัดระเบียบชีวิต และวิธีการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม และมีจิตสำนึกในการที่จะพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา
๑.2.1     ใช้แรงเสริมเพื่อให้กำลังใจนักศึกษาในการทำดี เช่นเมื่อนักศึกษามีวินัยในการส่งงาน หรือ มีความขยันในการเรียน การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา  เป็นต้น
1.2.2    ฝึกให้นักศึกษาวางแผนการเรียนและทำตารางเวลา ตารางประจำวัน ประจำสัปดาห์ ว่าจะอ่านอะไรก่อนหลัง ทำกิจกรรมอะไรบ้างและจะทำเมื่อไร เป็นต้น
1.3.1   การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2    การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
2.1.1   ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และการปฏิบัติในด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษ
2.1.2    การบูรณาการความรู้ทางสัทศาสตร์ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาการออกเสียงภาษาอังกฤษของตนเอง และสามารถประยุกต์ใช้ในการพูดภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
2.2.1    สอนโดยการบรรยายให้ความรู้ ผนวกกับการฝึกปฏิบัติจริง โดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student-Centered)
2.2.2    สอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) เช่น การวาดภาพฐานเสียง การแสดงบทบาทสมมติ (role play)   ฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่มหรือเป็นคู่   เป็นต้น
2.3.1   การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2    ผลการฝึกปฏิบัติ / การทำกิจกรรมของนักศึกษา
3.1.1   ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านสัทศาสตร์ ทั้งในวิชาการและวิชาชีพ
3.1.2    ทักษะในการนำความรู้ทางด้านสัทศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับการเรียนภาษาทางด้านอื่นๆ ได้อย่างครอบคลุม เช่น การฟัง การพูด การสนทนา เป็นต้น  ปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
3.2.1   บรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการออกเสียง
3.2.2    นักศึกษาซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.2.3    นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัดตามเนื้อหาการบรรยาย
3.2.4    นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.1   การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2    การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น
3.3.3    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.1   การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2    การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น
3.3.3    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
จัดการเรียนการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม
4.3.1   ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2    ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3    สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาให้นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง โดยการใช้เทคโนโลยีเพื่อฝึกการออกเสียง เพื่อให้ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียงภาษาอังกฤษ
ดูจากผลการศึกษาจากเว็บไซต์ที่มอบหมาย  ความรู้ที่ได้รับ ผลการเรียนหลังการศึกษาค้นคว้า และการฝึกฝนด้วยตนเอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-4 สอบกลางภาค 8 30%
2 หน่วยที่ 5-7 สอบปลายภาค 17 30%
3 หน่วยที่ 1-7 สอบปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 หน่วยที่ 1-7 กิจกรรมและงานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
5 หน่วยที่ 1-7 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอนวิชาสัทศาสตร์และสารศาสตร์เบื้องต้น
ปรารมภ์รัตน์  โชติกเสถียร. 2552. การออกเสียงสระและพยัญชนะในภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ชุมศักดิ์  มัธยมจันทร์. 2547. วิธีออกเสียงและสำเนียงภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิฑูรย์การปกฯ.
Baker, Ann. 2006, 3rd editon. Ship or Sheep? An Intermediate Pronunciation Course. Cambridge University Press.
Lane, L. 2005. Focus on pronunciation 1. New York : Pearson Education.
www.uiowa.edu/~acadtech/phonetics/english/frameset.html
www. Antimoon.com
http://lc.ust.hk
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
          1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
          2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
          2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
          3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
          4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
          4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
          5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์