การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

Systems Analysis and Design

มีความรู้ความเข้าใจในด้านเกี่ยวกับระบบ วัฏจักรการพัฒนาระบบ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ เข้าใจกระบวนการในการพัฒนาระบบ มีทักษะในการนำการวิเคราะห์ระบบไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบทางธุรกิจ
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านระบบสารสนเทศของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ วัฏจักรการพัฒนาระบบ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การออกแบบโปรแกรม กระบวนการพัฒนาระบบ การทดสอบ การนำเสนอผลการวิเคราะห์และออกแบบ การนำไปสู่การปฏิบัติงานจริงและเครื่องมือด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ปฏิบัติการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้เข้าใจความสำคัญเกี่ยวกับระบบ วงจรการพัฒนาระบบ กระบวนการและวิธีการในการพัฒนาระบบ โดยเน้นการนำเอาข้อมูลและสารสนเทศที่มีการนำมาใช้ในปัจจุบัน และเน้นในระบบที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรม
1.1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบกับลักษณะงานในธุรกิจ
1.1.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานโดยฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานในธุรกิจอย่างมีจริยธรรม
1.1.3 อภิปรายผลงาน
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การนำเสนอและอภิปราย
                มีความรู้เกี่ยวกับระบบ วัฏจักรการพัฒนาระบบ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การออกแบบโปรแกรม กระบวนการพัฒนาระบบ
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์ระบบโดยใช้รูปแบบของกระบวนการแบบต่าง ๆ และออกแบบระบบการทำงานในธุรกิจได้อย่างถูกต้อง
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบ

2.  นำเสนอผลงาน
มีวิจารณญาณในการการนำเสนอผลการวิเคราะห์และออกแบบ การนำไปสู่การปฏิบัติงานจริงและเครื่องมือด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ปฏิบัติการวิเคราะห์และออกแบบระบบได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้งานในอนาคต
บรรยาย ให้แบบฝึกหัด
นำเสนอผลงานจากแบบฝึกหัด และการอภิปรายในชิ้นงาน
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนในองค์กรในหน่วยงานสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อนำการกระบวนการในการวิเคราะห์และออกแบบระบบไปประยุกต์ให้ตรงกับหน่วยงาน และกับบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเอง
กำหนดให้นักศึกษาทำงานโดยฝึกปฏิบัติงานโดยมีส่วนร่วมกับบุคคลอื่น ๆ
 นำเสนอผลงานของแบบฝึกหัด และตอบข้อซักถามของอาจารย์
สามารถวิเคราะห์ระบบงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ ประยุกต์การพัฒนาระบบโดยใช้ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการเขียนและปากเปล่า ใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม ในการออกแบบระบบที่สามารถนำมาใช้งานได้อย่างถูกต้อง
กำหนดให้นักศึกษาทำงาน โดยกำหนดรูปแบบงานที่ให้นักศึกษาสามารถเลือกระบบงานในธุรกิจที่มีความสนใจในการนำมาพัฒนาระบบ โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ นำเสนอผลงาน จัดส่งผลงาน
1.1.1 นำเสนอผลงานที่ทำงาน และตอบข้อซักถามของอาจารย์
1.1.2 ตรวจรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 12031306 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.6 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4, 4.6 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 1-8 5%
2 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 การนำเสนอด้วยผลงานจากการวิเคราะห์ระบบงานในธุรกิจ 3-8 10%
3 2.1, 2.2, 2.5, 2.7 3.1, 3.4 สอบกลางภาค 9 30%
4 1.2, 1.6 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4, 4.6 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15,16 10-17 5%
5 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 การนำเสนอผลงานในการออกแบบระบบงาน 10-17 10%
6 2.1, 2.2, 2.5, 2.7 3.1, 3.4 สอบปลายภาค 18 30%
7 1.1 การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2548.
โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์. การออกแบบและจัดการฐานข้อมูล. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2545.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. สำนักพิมพ์ เคทีพี ,  2548.
รัชนี  กัลยาวินัย, การวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่(ฉบับปรับปรุง),บริษัท การศึกษา จำกัด.
-
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้

3. การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
1.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
1.2 การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือ  ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบในผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4