หลักการของระบบสื่อสาร

Principles of Communication System

1. รู้ความเป็ นมาของการสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้าในลักษณะต่างๆ
2. เข้าใจการวิเคราะห์และกระบวนการของสัญญาณในระบบสื่อสาร
3. เข้าใจการมอดูเลตและดีมอดูเลตในระบบแอนาลอกและดิจิตอล
4. เข้าใจระบบสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุและสายอากาศ
5. เข้าใจระบบการสื่อสารโดยใช้เลเซอร์
6. เข้าใจสัญญาณรบกวนและผลต่างๆที่เกิดข้ึนในระบบสื่อสาร
7. เข้าใจการสื่อสารและระเบียบวิธีสื่อสาร (Protocol)
8. เห็นความส าคัญของวิชาการหลักการของระบบสื่อสาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พ้ืนฐาน มีความเข้าใจความเป็ นมาของการสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้าในลักษณะต่างๆ ส าหรับการวิเคราะห์และกระบวนการของสัญญาณในระบบสื่อสาร การมอดูเลต และดีมอดูเลตในระบบแอนะล็อกและดิจิทัล จะได้น าความรู้ไปใช้เรียนรู้ การสื่อสารด้วยระบบ โทรศัพท์ วิทยุ ไมโครเวฟ การแพร่กระจายคลื่นวิทยุและสายอากาศ การสื่อสารโดยการใช้เลเซอร์ โทรทัศน์ สัญญาณรบกวนที่เกิดข้ึนในระบบสื่อสาร ระเบียบวิธีสื่อสาร (Protocol) 
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของระบบสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า การวิเคราะห์สัญญาณในระบบสื่อสาร การมอดูเลตและดีมอดูเลต การสื่อสารด้วยระบบโทรศัพท์ วิทยุ ไมโครเวฟ การแพร่กระจายคลื่นวิทยุและ สายอากาศ การสื่อสารโดยใช้เลเซอร์ โทรทัศน์ สัญญาณรบกวนที่เกิดข้ึนในระบบสื่อสาร ระเบียบวิธี สื่อสาร (Protocol) 
อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็ นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2.1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทาความดีและเสียสละ
2.1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 2.1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2.1.3.3 ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ 2.1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2.1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทางาน (Work Integrated Learning) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2.2.3.1 การทดสอบย่อย 2.2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 2.2.3.5 ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 2.3.3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทางาน (Work Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จาลอง และกรณีศึกษาของแต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้องและเน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
2.3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ 2.3.3.3 การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.3.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
2.4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2.4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.4.1.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2.4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2.4.2.1 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 2.4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2.4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 2.4.2.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 2.4.2.5 มีภาวะผู้นาและผู้ตาม 2.4.2.6 มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และสามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
2.4.3.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน 2.4.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 2.5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5.2.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 2.5.2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล 2.5.2.3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนาเสนอผลงาน 2.5.2.4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
2.5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร 2.5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล 2.5.3.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน 2.5.3.4 จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 32015202 หลักการของระบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
-    John Pearson,(1991) Basic Communication Theory l, Prentice Hall International. London  
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์