การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง

Electric Power System Analysis

1.1 เข้าใจหลักการคานวณโครงข่ายการส่งและจ่ายกาลังไฟฟ้า 1.2 แก้ปัญหาโหลดโฟลว์และการควบคุมโหลดโฟลว์ 1.3 วิเคราะห์วงจรลัดแบบสมมาตร 1.4 วิเคราะห์วงจรลัดแบบไม่สมมาตร 1.5 วิเคราะห์เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากาลัง 1.6 วิเคราะห์การส่งและการจ่ายไฟฟ้าแบบประหยัดของระบบไฟฟ้ากาลัง
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับระบบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาและที่สภาวิศวกรกาหนด
ศึกษาเกี่ยวกับการคานวณโครงข่ายการส่งและการจ่ายกาลังไฟฟ้า โหลดโฟล์ว การควบคุมโหลดโฟล์ว การวิเคราะห์วงจรลัดแบบสมมาตร การวิเคราะห์วงจรลัดแบบไม่สมมาตร เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากาลัง การส่งและการจ่ายไฟฟ้าแบบประหยัด
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณ ค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตาม ลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าต่อ บุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิด ชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 
แนะนาและยกตัวอย่าง บอกระเบียบการเข้าชั้นเรียน
ผลการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา และการทางานร่วมกับผู้อื่น
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมไฟฟ้า
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
แนะนาในห้องเรียน
สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคาถามหรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ลงมือปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
ให้คะแนนใบงาน สอบข้อเขียนและปฏิบัติ ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
แนะนาในห้องเรียน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้ามาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็น
4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง
4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.5 มีจิตสานึกความ รับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
 
 
แนะนาในห้องเรียน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี
5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะ สมและมีประสิทธิภาพ
5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญญลักษณ์
5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคานวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าได้
สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคาถามหรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ลงมือปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
ให้คะแนนใบงาน สอบข้อเขียนและปฏิบัติ ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
แนะนาในห้องเรียน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,2.1,2.2,3.3,5.5 การทดสอบย่อย (Quiz) 5 ครั้ง 1-15 10%
2 1.2,2.1,2.2,3.2,3.3,5.5 แบบฝึกหัด 1-15 10%
3 13,2.1,2.2, 2.3,3.2,3.3,3.4,4.4,5.1,5.5,6.2 งานกลุ่มเขียนโปรแกรม Matlab เกี่ยวกับโหลดโฟล์วและฟอลต์ 8,15 10%
4 1.2,2.1,2.2,3.2,3.3,5.5 การสอบกลางภาค 9 30%
5 1.2,2.1,2.2,3.2,3.3,5.5 การสอบปลายภาค 17 30%
6 1.2,4.4,4.5 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5%
7 1.2,1.3,4.4,4.5,6.1,6.2 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทางานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8,15 5%
"เอกสารประกอบการสอนวิชาการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากาลัง ",วิรัตน์ นักกรองดี.
"การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากาลัง", โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ "Power System Analysis",Grainger J.J., and Stevenson W.D.
“ไม่มี”
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากาหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทารายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กาหนดทุกภาคการศึกษา สาขาวิชากาหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทาหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนาเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนาเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสาหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป