สัมมนาพืชศาสตร์ 2

Plant Science Seminar 2

1.1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าข้อมูลทางการเกษตรจากวารสารจากฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์และจากห้องสมุดทั้งที่ตีพิมพ์ในประเทศและต่างประเทศ
1.2. นักศึกษาสามารถเขียนบทความทางวิชาการโดยใช้การอ้างอิงเอกสารอย่างเป็นระบบและถูกแบบฟอร์มสำหรับการตีพิมพ์
1.3. นักศึกษาสามารถนำเสนอผลงานได้ และสามารถตอบคำถามแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้
เพื่อให้นักศึกษานอกจากจะศึกษาและค้นคว้าข้อมูลผลงานวิจัยด้านพืชศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาแต่ละคนแล้ว  ต้องทำการวิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นบทความทางวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการทั้งระดับชาติและนานาชาติ 
การศึกษาที่ใช้ผลการค้นคว้าข้อมูลงานวิจัยด้านพืชศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาแต่ละคน  มาการวิเคราะห์ ประมวลผล เรียบเรียงข้อมูลที่สามารถขยายผลไปสู่การจัดการความรู้ที่เป็นรูปธรรมสอดคล้องกับการจัดทำวิทยานิพนธ์ และการใช้ประโยชน์ด้านวิชาการในการประชุมวิชาการทั้งระดับชาติและนานาชาติตลอดจนการจัดการส่งเสริมการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของผู้ที่สนใจ การประเมินผลในรายวิชาเป็นระดับคะแนนพอใจ(S)และไม่พอใจ(U)
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ (เฉพาะรายที่ต้องการ)  1ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือตามที่มีการแจ้งล่วงหน้าจากนักศึกษา  พร้อมทั้งมีการบันทึกข้อมูลเป็นหลักฐานตามความเหมาะสม
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
6. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
7. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
8. การสอนแบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
9. การสอนแบบ  Problem Based Learning
10. การสอนแบบสาธิต  
11. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การสัมภาษณ์
9.การนำเสนองาน
10.การประเมินตนเอง
11.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
6. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
7. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
8. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
9. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
10. การสอนแบบสัมมนา  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การฝึกตีความ
4.การสัมภาษณ์
5.การประเมินตนเอง
6.การประเมินโดยเพื่อน
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การฝึกตีความ
4.การสัมภาษณ์
5.การประเมินตนเอง
6.การประเมินโดยเพื่อน
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
6. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
7. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
8. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
9. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
10. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
11. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
12. การสอนแบบ  Problem Based Learning
13. การสอนแบบสัมมนา  
14. การสอนแบบฝึกภาคสนาม  
15. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
16. การสอนแบบปฏิบัติ 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การสัมภาษณ์
4.การประเมินตนเอง
5.การประเมินโดยเพื่อน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
8. การสอนแบบ  Problem Based Learning
9. การสอนแบบสัมมนา  
10. การสอนแบบฝึกภาคสนาม  
11. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
12. การสอนแบบปฏิบัติ 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การสัมภาษณ์
4.การประเมินตนเอง
5.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2. การนำเสนอและจัดทำรายงานโดยใช้โปรแกรม รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
4.การเขียนบันทึก
5.การประเมินตนเอง
6.การประเมินโดยเพื่อน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ให้นำเสนอผลงาน
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การประเมินตนเอง
4.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 1 2 3 1 2 3
1 MSCPT702 สัมมนาพืชศาสตร์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 -1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1 -การนำเสนอ รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 60% 30%
2 1.1,2.1 3.1,4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
สถาบันวิจัยและพัฒนา. 2544 .  คู่มือการเขียนรายงานการวิจัย  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2544. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. จอมสุดา ดวงวงษา. ม.ป.ป. คู่มือวิชาสัมมนาระดับปริญญาตรี. เอกสารประกอบการสอนวิชาสัมมนาระดับ ปริญญาตรีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ชินวุธ สุนทรสีมะ. 2541. หลักและวิธีการท้าวิทยานิพนธ์ รายงานประจำภาค และเอกสารวิจัย Research Methodology. พิมพ์ครั้งที่ 6. บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด. กรุงเทพฯ.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2553. คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์ สายวิทยาศาสตร์.
ไพพรรณ เกียรติโชติชัย. 2548. การจัดการสัมมนาสู่ความเป็นเลิศ Seminar for Excellence. พิมพ์ครั้งที่ 4. บริษัทการศึกษา จำกัด, กรุงเทพฯ. สุนทร เกตุสุขาวดี. 2553. สัมมนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. โสภาพ ชูเพ็ง. 2553. เอกสารประกอบค้าสอน วิชาสัมมนาทางพืชสวนประดับ. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
      ขึ้นกับหัวข้อสัมมนาและอาจารย์ผู้สอน
            ขึ้นกับหัวข้อสัมมนาและอาจารย์ผู้สอน
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
      3.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้นอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับรายละเอียดการสอนให้มีการจำลองสถานการณ์การนำเสนอผลงานที่สอดคล้องกับการนำเสนอวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาร่วมกับอาจารย์ผู้สอน