พันธุศาสตร์ประชากรสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช

Population Genetics for Plant Breeding

1. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงคุณสมบัติทางพันธุกรรมของประชากรสิ่งมีชีวิต ได้แก่ องค์ประกอบทางพันธุกรรมของประชากร การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีน
2. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงลักษณะเชิงปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืช อัตราพันธุกรรมและการประเมิน อัตราซ้ำและการประเมิน
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบถึงวิธีการวัดความสัมพันธ์ของเครือญาติโดยวิธีต่างๆ
1) นักศึกษาสามารถพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ประชากรสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสม
2) เนื่องจากองค์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ประชากรสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืชได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว จึงเพิ่มการศึกษาผลงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
องค์ประกอบทางพันธุกรรมของประชากร การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีน ลักษณะเชิงปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืช อัตราพันธุกรรมและการประเมิน อัตราซ้ำและการประเมิน ประชากรวิเคราะห์วิถีบาทของความสัมพันธ์ของพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับพืชและสัตว์ ระบบผสมพันธุ์และการผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ระหว่างการปรับปรุงประชากร
Genetic constitution of a population, changes of gene frequency, continuous variation, heritability, repeatability, the theory of path coefficient analysis, measurement of consanguinity and mating desig
™ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
™1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
™1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
™ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียน
2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
˜ 2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
š 2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
š 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอรายงานสัมมนา พร้อมตอบข้อซักถามได้
1. การนำเสนอรายงานที่สอดคล้องกับบทเรียน
˜ 3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
š 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
3. การสอนแบบบรรยาย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อที่นักศึกษาสนใจศึกษา และระดมสมองในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
˜ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
˜ 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
˜ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1. ร่วมกันทำรายงานและให้นำเสนองานกลุ่มร่วมกัน
š 5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1. ความก้าวหน้าของผลงานเขียนทางวิชาการที่ค้นคว้าที่ให้ปฏิบัติตามหัวข้อในแผนการสอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3
1 MSCPT202 พันธุศาสตร์ประชากรสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 9 30%
2 2.1,3.2,4.1,4.2, 4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 8, 15และ 16 20%
3 1.1, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 10 30%
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-16 10%
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-16 5%
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8, 15 และ 16 5%