การพัฒนาปรับแต่งผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์

Handicraft Development

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสภาพปัญหางานประดิษฐ์ และปัจจัยทั่วไปที่มีผลต่อการ ดำเนินุ ธุรกิจงานประดิษฐ์และพัฒนาปรับแต่งผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานตามที่ตลาดต้องการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการพัฒนาปรับแต่งผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์รูปแบบเดิมให้ทันสมัยนิยมตามที่ตลาดต้องการและเห็นคุณค่าของผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์        
หลักการและสภาพปัญหาผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ตลอดจนปัจจัยทั่วไปที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจงานประดิษฐ์เพื่อนำมาพัฒนาและปรับแต่งผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตราฐานตามที่ตลาดต้องการ
 
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาหลังและก่อนเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
             1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม
            1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
            1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
             1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
            1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย  การต่อตรงเวลา  การส่งงานในเวลาที่กำหนด
            1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง  และสังคม
            1.2.3  เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม  ถูกต้อง  ตามระเบียบข้อบังคับของ   
                      มหาวิทยาลัย
            1.2.4  ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
            1.2.5. ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
     2.1.1 เข้าใจองค์ความรู้ในรายวิชาอย่างกว้างขวางเป็นระบบ
               2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ทั้งในรายวิชา  และวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
          2.2 วิธีการสอนบรรยาย 
        2.2.1 ใช้การสอน โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ  เพื่อให้เกิดองค์    ความรู้
                 2.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
                 2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาทำผลงานที่ต้องพัฒนาชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์
                 2.2.4ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติโดยนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้เพื่อทำคู่มือประกอบชิ้นงานที่พัฒนา
                2.2.5 อภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญของคุณค่าการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  และกรณีศึกษา รูปแบบผลงานที่พัฒนา
3. ทักษะทางปัญญา    
        3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา        3.1.1  คิดอย่างมีระบบพื้นฐานของข้อมูลและข้อเท็จจริง
3.1.2 สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการศึกษาปัญหาที่ซับซ้อน  และเสนอแนะแนวทางการ แก้ปัญหา
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเสนอรูปแบบผลงานที่เหมาะสม
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการพัฒนาผลงาน
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
                4.1.1  มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
               4.1 .2 สามารถนำเสนอแนวความคิดอย่างสร้างสรรค์
               4.1.3  แสดงภาวะผู้นำ  และผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
  4.1.4 มีความรับผิดชอบต่อผลของการกระทำและการนำเสนอ  
4.2 วิธีการสอน
        4.2.1 กำหนดการทำงานกลุ่ม  โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
                4.2.2 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
                4.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็น  โดยการจัดอภิปราย และเสวนา    งานที่มอบหมายที่ให้ค้นคว้า
                4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น  เพื่อฝึกการยอมรับ ความคิดเห็นของ ผู้อื่นด้วย เหตุผล
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
                5.1.2 สามารถเลือกสื่อ และเครื่องมือในการสืบค้น  เก็บข้อมูล  ประมวลผล  และแปลความหมาย
                        รวมถึงการนำเสนอข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศได้อย่างเหมาะสม
       5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทย  และภาษาอังกฤษในการสื่อสาร  ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2วิธีการสอน
                5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
                5.2.2 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับ     
                 มอบหมาย
          5.3 วิธีการประเมินผล
               5.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
       5.3.2 ประเมินจากผลงาน
6.1ทักษะด้านการปฏิบัติงาน ที่ต้องพัฒนา
              6.1.1  สามารถปฏิบัติงานตามแบบที่กำหนดได้
              6.1.2  สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องโดยอิสระ
              6.1.3  สามารถประยุกต์การปฏิบัติงานเพื่อการแก้ไขในสภาพจริงได้
- สาธิตประกอบการบรรยายทุกครั้งก่อนให้นักศึกษาลงมือฝึกปฏิบัติและให้คำแนะนำทุก
    ขั้นตอน
             6.1. สร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติ
             6.1ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
             6.1  ฝึกนักศึกษาให้มีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน
             6.1.  อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการปฏิบัติงานและดูแลการฝึกทักษะตลอดเวลา
             6.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
             6.2 ประเมินจากผลงานสำเร็จ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 24051208 การพัฒนาปรับแต่งผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ สอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 15 9 17 10 % 15 % 15 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติขนมไทย 9 17 16 10 % 10 % 10 %
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การให้คะแนนของเพื่อนร่วมห้อง ตลอดภาคเรียน 5 %
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร รายงานเรื่องการฝึกปฏิบัติการทำโครงการ 1-15 10%
6 ด้านการปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน งานที่มอบหมาย และผลงานสำเร็จ (ภาคปฏิบัติ ตลอดภาคเรียน 5 %
7
   สาคร คันธโชติ  การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์  กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,  2528.
   นิรัช  สุดสังข์    ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม     กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,  2548.
   อุษณีย์  จิตตะปาโล  และ นุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัติ   การจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น  กรุงเทพฯ:     
    สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,  2549.
กรมทรัพย์สินทางปัญญา   "ความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา"  สายด่วน 1368  นนทบุรี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ