โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม

Engineering Metallurgy

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
              เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในทางโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะและโลหะผสม โครงสร้างจุลภาคและมหภาคของโลหะ การเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ แผนภาพสมดุลของเหล็ก-คาร์บอน  กรรมวิธีอบชุบและการกัดกร่อน  
 

 
  2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
              เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในทางโลหะวิทยา และให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโลหะ   
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในทางโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะและโลหะผสม โครงสร้างจุลภาคและมหภาคของโลหะ การเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ แผนภาพสมดุลของเหล็ก-คาร์บอน  กรรมวิธีอบชุบและการกัดกร่อน
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 

1.2.1 บรรยายและสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมช่วงการเรียนการสอน
สอดแทรกเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ความรู้ ที่ต้องได้รับ
ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในทางโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะ โครงสร้างของโลหะและการเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ คุณสมบัติของโลหะผสม ไดอะแกรมของเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์  การอบชุบของเหล็ก กรรมวิธีชุบแข็ง
บรรยาย อภิปราย และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอเป็นกลุ่ม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
2.3.1  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2  ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล 
 
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.1.2  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของความรู้และเทคโนโลยี
 
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
 
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2   วัดผลจากการทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่ม เกี่ยวกับเทคโนโลยีวัสดุ
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
 
4.3.1   ประเมินตนเอง และสมาชิกด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
 
5.1.1  ส่งเสริมทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3  พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลจาก web site
5.1.4  พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก web site สื่อการสอน E- Learning และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2  มอบหมายงานที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
 
5.3.1  ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
 
 
            5.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมายที่ใช้การคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
 
6.1.1  พัฒนาทักษะในด้านการบริหารจัดการเวลา การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ อย่างถูกต้อง มีวินัยและประสิทธิภาพ
6.1.2  พัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันอย่างดี
6.2.1  มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยกำหนดเวลาส่ง และระเบียบการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์
6.3.1  พฤติกรรมการเข้าเรียน การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ทดสอบการใช้เครื่องมือ
            6.3.2  ใบรายงานการปฏิบัติงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล