วัชพืชและการควบคุม

Weeds and Their Controls

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ การจำแนกชนิดชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชหลัก วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช ประเภทและสรีรวิทยาการทำงายของสารเคมีกำจัดวัชพืชและความปลอดภัยในการใช้งาน
เพื่อให้มีความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การจำแนกชนิดชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชหลัก วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช ประเภทและสรีรวิทยา การทำงายของสารเคมีกำจัดวัชพืชและความปลอดภัยในการใช้
        -มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม,จริยธรรม
      -  มีวินัยขยันอดทนตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง,สังคม,และสิ่งแวดล้อม
      -จะมีการสอนสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนสม่ำเสมอ
-ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
    -ร้อยละ 95 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
    -ร้อยละ 95 ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์กำหนด
     -ร้อยละ 99 นักศึกษาส่งงานมอบหมาย
    -ร้อยละ100 นักศึกษาไม่มีการทุจริตในการสอบ
-มีความรู้สามารถบอกความหมายของวัชพืช,การจำแนกประเภทของวัชพืช,ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชและการจำแนกชนิดของวัชพืชได้                                                                                                                                      -มี  ความเข้าใจสามารถอธิบายตลอดจนประยุกต์วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืชมาใช้ในชีวิตประจำวัน       และสามารถบริการทางวิชาการได้
-การบรรยาย,อธิบายความหมายความสำคัญของวัชพืชการจำแนกประเภทและชนิดของวัชพืชชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชโดยแผ่นใสและเครื่องฉายข้ามศีรษะ ถาม-ตอบในชั้นเรียน
-การปฏิบัติทดลองวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืชแบบต่างๆในแปลงปลูกพืชเศรษฐกิจ,การทดลองการขยายพันธุ์ของวัชพืชต่างๆ,การทดลองใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชประเภทต่างๆ
-โดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
-โดยการประเมินผลในแปลงทดลองวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืชแบบต่างๆ
-โดยการตรวจงานมอบหมาย
-โดยประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
      -ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับวัชพืชและวิธีการควบคุมที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิชาการ
          -ฝึกทักษะการควบคุมป้องกันกำจัดวัชพืชโดยการปฏิบัติในแปลงและในถุงพลาสติคดำ
      -ประเมินจากความใส่ใจและตั้งใจปฏิบัติ
      -ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานเป็นกลุ่ม
    -มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มและทีม
    -มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างมีระบบ
-สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
   -แบ่งกลุ่มในการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดวัชพืช
-แบ่งกลุ่มในการทดลองกำจัดวัชพืชด้วยวิธีการต่างๆ
   -ประเมินผลจากกระบวนทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ 6
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG109 วัชพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 งานที่มอบหมายนอกชั่วโมงเรียน 4,7,9,11,14,และ16 25
2 สอบกลางภาค 8 25
3 งานภาคปฏิบัติในชั่วโมงเรียน 25
4 สอบปลายภาค 18 25
1.   ธรรมนูญ      ฤทธิมณี      2531    หลักการอารักขาพืช     วิทยาลัยเทคโนโลยีและ                              
                                                           อาชีวศึกษา  กรุงเทพฯ    447   หน้า
2  .สามารถ         ไชยพันธุ์     2538    วัชพืชและการป้องกันกำจัดวิทยาเขตน่าน
                                                           ระดับปว.ส.   1- 425  หน้า
3.  สามารถ           ไชยพันธุ์    2539    หลักการอารักขาพืช       วิทยาเขตน่าน  
                                                           ระดับปว.ช.     134 – 154    หน้า
4. เกลียวพันธุ์  สุวรรณรักษ์ (2530) วัชพืชและการป้องกันกำจัดโครงการตำราชาวบ้าน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5. ธวัธชัย  รัตน์ชเลศ  (2535) รายชื่อวัชพืชที่มีรายงานในประเทศไทย ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6. ผศ. สุชาดา ศรีเพ็ญ (2525) วัชพืชและการจำแนกในวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทยกรุงเทพฯ
7. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ (2540) วัชพืชศาสตร์ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ลินคอร์น
8. ดวงพร สุวรรณกุล (2543) ชีววิทยาวัชพืช กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
9. อารมย์   แสงวนิชย์. (2535) การใช้สารธรรมชาติป้องกันกำจัดศัตรูพืช.กรมวิชาการเกษตรกรุงทพฯ
10. Aderson,W.P1983 Weed science principle west publishing co,st Paul,Minn
11. Baker,G.E 1981  Aquatic weed control program for the south florida water management district,west plam beach
12. Bukovac,M.J.1976 Herbicide entry into plants in herbicide physiology,biochemistry,ecology edited by j.Audus academic press,London
13. Chang , E.Y. W.H. Vandeen Bron.1976 Dicamba uptake , translocation, Metabolism and selectivity,weed sci .pp 113-117
14. Dion, A.1974. weedcontronl in cabbges weed Abst.1997
15. Puckridge D.W.and Tawee. 1982 Kuyaskanjanadul. Effect of herbicides aspre-planting with no the population of weed and yield of rice(inpreparation)
16. Robert,Gl.1982 Economic returns to investment in control of minors pigra in Thailand,IPP@doccumen NO 42-A-82,Mcp Agricultural Economics report NO.15 
17. Thomson,L.jr,.F.W. slife and H.S.Butter. 1970. Environmental infiuence on the tolerance of corn to Atrazine. Weed sci.509-514
18. Roberts,  H.a,        1979 “Weeds  and the onion  crops        of the royal host see.98:230-235
 
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง
   ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
    พืชศาสตร์
   สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนโดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาของหลักสูตร
โดยพิจารณาจากผลประเมินการสอนโดยนักศึกษา,ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา,การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอ สาขาวิชา/คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป